Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health Assessment) 1 - Coggle Diagram
การประเมินภาวะสุขภาพ
(Health Assessment)
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ชนิดของข้อมูล
ข้อมูลปรนัย (Objective data)
ได้จากการสังเกต
ได้จากการตรวจร่างกาย
ได้จากการตรวจวัดผู้รับบริการด้วยเครื่องมือต่างๆ
ได้จากข้อมูลจากผลการตรวจทางห้องปฏิบัติ
ได้จากการการตรวจพิเศษต่าง ๆ
ข้อมูลอัตนัย (Subjective data)
ได้จากการซักประวัติการสัมภาษณ์และการบอกเล่าของผู้รับบริการหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง
แหล่งของข้อมูล (Source of data)
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary source data)
เป็นข้อมูลที่เชื่อถือได้มากที่สุด
ข้อมูลจากการตรวจร่างกาย
การวัดประเมินด้วยเครื่องมือชนิดต่างๆของผู้รับบริการ
การสังเกตการสัมภาษณ์หรือการซักประวัติสุขภาพจากผู้รับบริการโดยตรง
ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary source data)
เป็นข้อมูลที่พยาบาล
เก็บรวบรวมได้จากแหล่งอื่น ๆ นอกเหนือจากผู้รับบริการ
ข้อมูลจากบุคคลในครอบครัวญาติผู้ใกล้ชิด
ผู้พบเห็นเหตุการณ์ทีมสุขภาพข้อมูล
จากรายงานหรือเวชระเบียนของผู้ป่วยข้อมูล
จากการบันทึกของแพทย์
การบันทึกทางการพยาบาล
การบันทึกของบุคลากรในทีมสุขภาพอื่น ๆ เช่น นักกายภาพบำบัด
โภชนากรเภสัชกร
ข้อมูลจากรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษต่างๆ
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การสังเกต
เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดย
การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
การดมกลิ่น
การฟัง
การลิ้มรส
การดู
การสัมผัสด้วยมือ
สิ่งที่ควรสังเกต
พฤติกรรมที่ผู้รับบริการแสดงออก
กิจกรรมต่างๆหรือกิจวัตรประจำวันที่ผู้รับบริการปฏิบัติ
สีหน้า น้ าเสียง และการพูดคุย
อาการแสดง (Signs) ต่างๆของผู้ป่วย
ลักษณะทั่วไปของผู้รับบริการ
การสัมภาษณ์หรือการซักประวัติ
เป็นการสนทนาพูดคุยกับผู้รับบริการญาติหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้ข้อมูลเพิ่มเติมจากการสังเกต
ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการซักประวัติ
สภาพของผู้รับบริการ
บุคลิกลักษณะของพยาบาล
สภาพแวดล้อมในการ
สัมภาษณ์
หลักทั่วไปของการซักประวัติ
สรุปหลักการซักประวัติ
ผู้ชักประวัติ
จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการซัก
ประวัติ
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สบาย
ควรกำหนดวัตถุประสงค์ของ
การซักประวัติไว้ล่วงหน้า
ควรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมของบุคคลภาวะสุขภาพภาวะเจ็บป่วยต่างๆรวมทั้งปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
วิธีการซักประวัติ
การสื่อสารการฟัง
การบันทึก
การใช้คำถามในการซักประวัติผู้รับบริการสามารถใช้ได้
ทั้งคำถามปลายปิดและปลายเปิด
การสร้างสัมพันธภาพ
กับผู้รับบริการ
เริ่มต้นด้วยการสร้าง
สัมพันธภาพที่ดี
การกล่าวนำ
เป็นเทคนิคการนำทางในการสนทนาให้ดำเนินต่อไปใช้ในกรณีที่ผู้รับบริการก าลังสนทนาแล้วเกิดหยุดชะงักคิดไม่ออกว่าก าลังพูดถึงเรื่องอะไรอาจใช้ประโยคสั้น ๆ
การสะท้อนความรู้สึก
ผู้รับบริการสามารถคิดทบทวนในสิ่งที่
ตนเองได้พูดถึงหรือสะท้อนความรู้สึกที่แท้จริงของตนเองออกมา
การสะท้อนความรู้สึก
ผู้รับบริการสามารถคิดทบทวนในสิ่งที่
ตนเองได้พูดถึงหรือสะท้อนความรู้สึกที่แท้จริงของตนเองออกมา
การทำความกระจ่าง
เป็นการช่วยให้เข้าใจในสิ่งที่คลุมเครือ
การเน้น
การเน้นใช้เมื่อต้องการเน้นประเด็นสำคัญ
การใช้ความเงียบ
จะช่วยให้ผู้รับบริการมีโอกาส
ได้คิดทบทวนสิ่งที่พูดออกมาและสิ่งที่คิดจะพูดต่อไป
การสรุป
เพื่อตรวจสอบการรับรู้ให้ตรงกันระหว่างพยาบาลและผู้รับบริการ
ก่อนที่จะเริ่มต้นสนทนาประเด็นต่อไป
การตรวจร่างกาย
การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษต่าง ๆ
11 แบบแผนของ
กอร์ดอน
แบบแผนที่ 7 การรู้จักตนเองและอัตมโนทัศน์
ความรู้สึกต่อความสามารถความรู้สึกผิดที่เกี่ยวข้องกับความเจ็บป่วยของตนเอง
แบบแผนที่ 9 เพศและการเจริญพันธุ์
พฤติกรรมที่แสดงออกเหมาะสมกับเพศหรือไม่
แบบแผนที่ 6 สติปัญญาและการรับรู้
ความสามารถในการรับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้าทั้ง เรื่องการได้ยิน การ
มองเห็น การได้กลิ่น การรับรส และการรับ ความรู้สึกทางผิวหนัง
แบบแผนที่ 2 โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร
พฤติกรรมและการปรับตัวในเรื่องการกินของผู้ป่วยทั้งในภาวะ ปกติและขณะเจ็บป่วย
แบบแผนที่ 8 บทบาทและสัมพันธภาพ
ความรู้สึกและความคิดเห็นที่มีต่อการปรับเปลี่ยนบทบาท
แบบแผนที่ 10 การปรับตัว และการเผชิญกับความเครียด
ความสามารถในการปรับตัวการแก้ปัญหา
แบบแผนที่ 4 กิจวัตรประจำวันและการออกกำลังกาย
ผลการตรวจร่างกายระบบหายใจ
แบบแผนที่ 3 การขับถ่าย
ผลการตรวจร่างกายเกี่ยวกับการขับถ่าย
แบบแผนที่ 5 การพักผ่อนนอนหลับ
การสังเกตอาการแสดงถึงการนอนไม่พอ
แบบแผนที่ 1 การรับรู้และการดูแลสุขภาพ
เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินความคิดความเข้าใจของผู้รับบริการที่
มีต่อภาวะสุขภาพหรือการเจ็บป่วยของตนเอง
แบบแผนที่ 11 ความเชื่อ
ศาสนามีความสำคัญต่อชีวิตหรือไม่