Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.3 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle…
บทที่ 4.3 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่
การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
1.การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของน้ำในร่างกาย
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
อุปกรณ์เครื่องใช้
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการหยดของสารนำ้
ความหนืดของสารน้ำ
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดา
1.ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมากจะบังคับการหยดได้ไม่ดีพออัตราการหยดจะเร็ว
สายให้สารน้ำหากมีการหักพับงอหรือถูกกด สารน้ำผ่านไม่สะดวก
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด แน่นหรือตึงเกินไปรวมทั้งการนั่ง
การเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วยอาจทำให้เข็มเคลื่อนที่ปลายตัดของเข็มแนบ ชิดผนังหลอดเลือด
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่นหรือญาติผู้ป่วยหมุนปรับเอง
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารละลายไอโซโทนิก
สารละลายไฮโปโทนิก
สารละลายไฮเปอร์โทนิก
การบันทึกสารน้ำเข้าออกร่างกาย
4) จดบันทึกจำนวนน้ำของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร พร้อมอธิบายให้ผู้ป่วยดื่มน้ำในขวดที่เตรียมไว้ให้
5) การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
3) ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกำหนดจำนวนน้ำที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
2) อธิบายเหตุผลและความสาคัญของการวัดและการบันทึกจานวนน้ำที่รับเข้าและขับออกจาก ร่างกาย
1) แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย เพื่อสะดวกในการจดบันทึกและเมื่อครบ 24 ชั่วโมง
6) บันทึกจานวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่น ๆ เช่น อาเจียน ท้องเดิน
การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำ
สูตรการคำานวณอัตราหยดของสารน้ำใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย (หยด/ นาที) = จานวน Sol.(มล/ชม.) x จำนวนหยดต่อมล.) หารด้วย เวลา(นาที)
สูตรการคำนวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชม. = ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ หารด้วย จำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
อาการแทรกซ้อนจากการได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด
การให้สารอาหารมากเกินไป
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง
ไข้
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
อาการแทรกซ้อนจากการได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการบริหารยา
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
อาการแทรกซ้อนจากการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การถ่ายทอดโรค
การอุดตันจากฟองอากาศ
ปฏิกิริยาภูมิแพ้
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
ไข้
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป
เม็ดเลือดแดงสลายตัว
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เครื่องใช้
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การให้เลือด (Blood transfusion) หมายถึง การให้เลือด หรือเฉพาะเม็ดเลือด หรือเฉพาะน้ำเลือด แก่ผู้ป่วยโดยผ่านเข้าทางหลอดเลือดดำ
เลือด
เซลล์เม็ดเลือดแดง
เซลล์เม็ดเลือดขาว
น้าเลือด
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
ล้างมือให้สะอาดก่อนให้การพยาบาลทุกครั้ง สวมmask
เตรียมอุปกรณ์ในการให้ PPN หรือ TPN ที่สะอาดปราศจากและเตรียมชุดให้สารอาหาร ให้พร้อม
ต่อสายยางให้อาหารเข้าไปในชุดให้สารอาหาร
ตรวจสอบ PPN หรือ TPN จะต้องไม่ขุ่นหรือมีตะกอน
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย ชนิดและปริมาณของสารอาหาร อัตราหยดต่อนาที วันและเวลาที่เริ่มให้ วันและเวลาที่สารอาหารหมด ชื่อผู้เตรียมสารอาหาร
นำสารอาหารและสายยางให้สารอาหารไปต่อกับผู้ป่วยโดยเช็ดบริเวณรอยต่อด้วยสาลีชุบ แอลกอฮอล์ ปิดด้วยผ้าก๊อซปราศจากเชื้อ
ให้สารอาหารปรับจำนวนหยดตามแผนการรักษา