Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.3 การให้สารนํ้าทางหลอดเลือดดำ(ต่อ) - Coggle Diagram
บทที่ 4.3 การให้สารนํ้าทางหลอดเลือดดำ(ต่อ)
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ให้ผู้ป่วยได้รับสารนํ้าตามแผนการรักษาและไม่เกิดอาการแทรกซ้อน
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย ชนิด และปริมาณของสารอาหารอัตราหยดต่อนาที วัน และเวลาที่เริ่มให้วัน
และเวลาที่สารอาหารหมด ชื่อผู้เตรียมสารอาหาร
สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับผู้ป่วย เช่น
มีผื่นขึ้นตามตัว หายใจเร็วหรือช้ากว่าปกติเป็นต้น
ผู้ป่วยที่ได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย(peripheral vein) ควรเปลี่ยนตำแหน่งให้ทุก 3วัน หรือทุกครั้งที่มีสารอาหารรั่วไหล (leak)
ถ้าสารอาหารที่ให้ทางหลอดเลือดดำรั่ว หรือทางเส้นเลือดดำอุดตัน
ให้ไม่ได้ ควรรายงานให้แพทย์ทราบ
ประเมินสภาพร่างกาย และควบคุมผู้ป่วยในระยะแรก และระยะหลังของการได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
หลีกเลี่ยงการให้ยาฉีดทางหลอดเลือดดำสายเดียวกับให้สารอาหารทางหลอกเลือดดำถ้าจำเป็นต้อง push ยาเข้าทางสายให้อาหาร
(IV catheter) ในตำแหน่งเดียวกับที่ให้สารอาหาร ให้ระมัดระวังการเข้ากันไม่ได้ของยา และสารอาหารอาจมีการตกตะกอน
ประเมินสัญญาณชีพก่อนและขณะให้สารอาหารและติดตามทุก 2-4ชั่วโมง
ดูแลทางด้านจิตใจ โดยอธิบายให้เข้าใจถึงความจำเป็นในการได้สารอาหาร ประโยชน์ที่ได้รับ เพื่อผู้ป่วยจะได้ให้ความร่วมมือ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
มีโอกาสเกิดหลอดเลือดดำอักเสบจากการให้สารอาหาร
ทางหลอดเลือดดำเป็นเวลาหลายวัน
มีโอกาสเกิดสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด
จากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำเป็นเวลาหลายวัน
การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ(Evaluation)
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม่
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
ประเมินคุณภาพของการให้บริการข้อ3 อยู่ในคุณภาพระดับใด
ประเมินคุณภาพของการปฏิบัติงานในข้อ2 อยู่ในคุณภาพระดับใด
การประเมินผลการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย
ติดตามประเมินสัญญาณชีพก่อน ขณะ และหลังการได้รับสารอาหาร
ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของผู้ป่วยและปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights
และหลักความปลอดภัยSIMPLE ของ patient safety goals
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วยและจัดท่านอนให้สุขสบายและเหมาะสม
ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย
การประเมินสภาพผู้ป่วย(Assessment)
S: “รู้สึกปากแห้งอยากเคี้ยวอาหารทางปาก”
O: Known case CA stomach S/P Subtotal gastrectomy มีรูปร่างผอม รับประทานอาหารทางปากและอาหารทางสายให้อาหารไม่ได้
แพทย์มีแผนการรักษาให้ 10% Aminosal 500 ml v drip OD
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
เป็นการให้โภชนบำบัดทางหลอดเลือดดำเพียงบางส่วน
อาจได้พลังงานไม่ครบตามความต้องการ หรือได้สารอาหารไม่ครบทุกหมู่
Total parenteral nutrition (TPN)
เป็นการให้โภชนบำบัดครบตามความต้องการของผู้ป่วยทั้งปริมาณพลังงานที่ต้องการ และสารอาหารทุกหมู่
ตําแหน่งของการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้ทางหลอดเลือดำแขนง (peripheral vein)
การให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่ (central vein)
ส่วนประกอบของสารอาหารในสารละลาย
โปรตีนอยู่ในรูปกรดอะมิโน
วิตามิน ให้ทั้งชนิดละลายในนํ้า
สารละลายไขมัน
เกลือแร่
คาร์โบไฮเดรต นิยมใช้ในรูปของกลูโคส
นํ้า
ข้อบ่งชี้ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ภาวะทางศัลยกรรม เช่น ถูกนํ้าร้อนลวก ภายหลังการผ่าตัด
ความผิดปกติของจิตใจ เช่น anorexia nervosa
โรคของอวัยวะต่างๆ เช่น ภาวะไตวาย โรคหัวใจแต่กำเนิด
โรคมะเร็งต่างๆ เช่น มะเร็งกระเพาะอาหาร
โรคทางเดินอาหาร เช่น อุจจาระร่วงเรื้อรัง
การอักเสบในระบบทางเดินอาหาร ลำไส้ อักเสบจากการฉายรังสี
วัตถุประสงค์
ทดแทนนํ้าที่ร่างกายสูญเสียไป เช่น อาเจียน
อุจจาระร่วงรุนแรง หรืออุจจาระร่วงเป็นระยะเวลานาน
ให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและนํ้าทางปากไม่ได้หรือมีภาวะผิดปกติของระบบทางเดินอาหารไม่สามารถให้อาหารทางปากได้ ให้ได้รับสารอาหารครบถ้วนตามความต้องการของร่างกาย โดยผ่านทางหลอดเลือดเลือดดำ
อุปกรณ์ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ชุดให้สารอาหาร
สายให้อาหารทางหลอดเลือดดำ ปัจจุบันสายให้อาหารทางหลอดเลือดดำมีรูปแบบต่างๆ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของผู้ป่วยแต่ละราย
ขั้นตอนในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ต่อสายยางให้อาหารเข้าไปในชุดให้สารอาหาร ปิดผ้าก๊อซปราศจากเชื้อตรวจสอบ PPN หรือTPN จะต้องไม่ขุ่นหรือมีตะกอน มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย ชนิดและปริมาณของสารอาหาร อัตราหยดต่อนาที วันและเวลาที่เริ่มให้ วันและเวลาที่สารอาหารหมด ชื่อผู้เตรียมสารอาหาร
นำสารอาหารและสายยางให้สารอาหารไปต่อกับผู้ป่วยโดยเช็ดบริเวณรอยต่อด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ ปิดด้วยผ้าก๊อซปราศจากเชื้อ
ให้สารอาหารปรับจำนวนหยดตามแผนการรักษา
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ ล้างมือให้สะอาดก่อนให้การพยาบาลทุกครั้งสวมmask3.เตรียมอุปกรณ์ในการให้ PPN หรือTPN ที่สะอาดปราศจากเชื้อ
และเตรียมชุดให้สารอาหารให้พร้อมทำความสะอาดจุดปิดขวดสารอาหารด้วยสำลีปราศจากเชื้อชุด แอลกอฮอล์70%
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด (Embolism)
ที่พบบ่อยจะเป็นก้อนเลือด (thromboembolism)
และอากาศ (air embolism)
การให้สารอาหารมากเกินไป (Circulatory overload)
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง (Local infiltration)
ไข้(pyrogenic reactions)
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ส่วนประกอบ
เซลล์เม็ดเลือดแดง (red blood cellหรือ erythrocyte)
เซลล์เม็ดเลือดขาว (white blood cellหรือ leukocyte)
เกร็ดเลือด (platelet) และนํ้าเลือด (plasma)
ความหมาย
การให้เลือดหรือเฉพาะเม็ดเลือด หรือเฉพาะนํ้าเลือด
แก่ผู้ป่วยโดยผ่านเข้าทางหลอดเลือดดำ
การให้เลือดแม้จะช่วยชีวิตผู้ป่วยได้ แต่ก็ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
ได้เช่นกัน ซึ่งอาจทำให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตได้
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
วัตถุประสงค์ของการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ทดแทนเม็ดเลือดแดง และรักษาระดับฮีโมโกลบิน
ทดแทนปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
ทดแทนปริมาณเลือดที่สูญเสียไป
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยได้รับเลือดและสารประกอบของเลือดไม่พบอาการแทรกซ้อนและปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
วิธีทำาการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย ตรวจสอบรายชื่อนามสกุล เตียงผู้ป่วยให้ตรงกับป้ายข้อมือผู้ป่วยอีกครั้ง บอกให้ผู้ป่วยทราบโดยอธิบายวัตถุประสงค์และวิธีการให้
ล้างมือให้สะอาด ดึงที่ปิดถุงเลือดออก เช็ดรอบ ๆ ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% ต่อ blood set กับ ขวดเลือด ต่อ three ways กับ extension tube แล้วมาต่อกับ blood set ปิดclampแขวนขวดเลือดกับเสานํ้าเกลือแขวนให้สูงประมาณ 1 เมตร จากผู้ป่วย
ตรวจสอบชื่อนามสกุล Rh.ของผู้ป่วย HN กับป้ายชื่อข้างขวดเลือดหรือส่วนประกอบของเลือดจากธนาคารเลือด (blood bank)
บีบ chamber ของ blood set ให้เลือดไหลลงมาในกระเปาะประมาณ ½ ของกระเปาะ ไล่อากาศในสาย IV จนหมด
ตรวจสอบแผนการรักษา และเขียนชื่อนามสกุลของผู้ป่วย ชนิดของเลือดและส่วนประกอบของเลือดRh. วัน เวลาที่เริ่มให้อัตราการหยด ลงในแผ่นฉลากปิดข้างขวด
การเตรียมผิวหนังและการแทงเข็มให้สารนํ้า
เลือกตำแหน่งที่จะแทง IV cath. รัด tourniquet เหนือที่ต้องการแทงเข็ม2-6 นิ้ว เพื่อให้เห็นหลอดเลือดดำชัดเจนสวมถุงมือสะอาดและmask ทำความสะอาดผิวหนังต าแหน่งที่จะแทงเข็มด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์70% เช็ดจากบนลงล่าง ทิ้งไว้ 1/2 -1 นาที รอแอลกอฮอล์แห้ง
ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ของมือซ้ายตรึงผิวหนังตำแหน่งที่จะแทง IV cath.
เตรียม IV cath. เพื่อใช้เป็นตัวนำในการแทงผิวหนัง แทงเข็มทำมุมประมาณ 10-30 องศา เมื่อปลายเข็มเข้าไปในหลอดเลือดจะมีเลือดไหลย้อนกลับเข้ามาในส่วนปลายของเข็มที่แทงให้หยุดแทง แล้วค่อยๆเลื่อน Stylet ออก พร้อมกับสอดท่อพลาสติกเข้าไปในหลอดเลือดตามแนวเส้นด้วยความระมัดระวัง ตรึงหัวเข็มให้อยู่กับที่มากที่สุด ปลดยางรัดแขนออกเบาๆ ระวังการดึงรั้งของผิวหนังเพราะอาจทำให้หลอดเลือดที่แทงแตกได้ ต่อสายส่วนปลายของ
blood set เปิด clamp ให้เลือดหยดเข้าไปในหลอดเลือดโดยปรับให้หยดช้าๆไว้ก่อนและติดพลาสเตอร์ เก็บอุปกรณ์ทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย ลงบันทึกทางการพยาบาล
เครื่องใช้
extension tube
three ways
สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
IV stand (เสาน้ าเกลือ)
tourniquet
พลาสเตอร์ หรือ transparent ส าเร็จรูป
blood transfusion set (Blood set)
แผ่นฉลากชื่อ
intravenous catheter (IV cath.) เบอร์ 18
ถุงมือสะอาดmask
intravenous fluid (IV fluid)
ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ตามแผนการรักษา
การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม่
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
ประเมินคุณภาพของการให้บริการข้อ3 อยู่ในคุณภาพระดับใด
ประเมินคุณภาพของการปฏิบัติงานในข้อ2 อยู่ในคุณภาพระดับใด
การประเมินผลการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย
ติดตามประเมินสัญญาณชีพก่อน ขณะ และหลังการได้รับเลือด
ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของผู้ป่วยและปลอดภัยตามหลักการ 6 RightsและหลักความปลอดภัยSIMPLE ของ patient safety goals
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วยและจัดท่านอนให้สุขสบายและเหมาะสม
ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย
การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินแผนการรักษา
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของสารน้้าในร่างกาย
การปฏิบัติการพยาบาล
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4ชั่วโมง
จัดมือซ้ายที่บวมให้สูงกว่าล าตัวผู้ป่วยโดยใช้หมอนรอง
ประเมินอาการบวมที่หลังมือซ้ายทุกเวร หากบวมมากขึ้น ผู้ป่วยมีไข้
เปลี่ยนบริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ าใหม่
ประเมินการขาดสารนํ้าและอิเล็คโตรไลท์
หยุดให้สารนํ้าทันที
ลดภาวะเครียดโดยให้ความช่วยเหลือทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
การประเมินผลการพยาบาล
ประเมินอาการหลอดเลือดดำอักเสบบริเวณหลังมือ
ปริมาณสารนํ้าเข้าและออกมีความสมดุล
ประเมินอาการปวดของผู้ป่วย ผู้ป่วยสีหน้าสดชื่น ไม่บ่นปวดบริเวณหลังมือซ้าย
เกณฑ์การประเมินผล
อาการปวดบริเวณที่ให้สารนํ้าลดลง โดยใช้แบบประเมินความปวด
ภาวะหลอดเลือดดำอักเสบลดลง
วัตถุประสงค์
ไม่เกิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบที่รุนแรงขึ้น
การบันทึกปริมาณน้้าเข้า-ออกจากร่างกาย
(Record Intake-Output)
ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกำหนดจำนวนนํ้าที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
จดบันทึกจำนวนนํ้าและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหารพร้อมทั้งอธิบายให้ผู้ป่วยดื่มนํ้าในขวดที่เตรียมไว้ให้ไม่นำนํ้าที่เตรียมไว้ไปบ้วนปากหรือเททิ้ง
อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัดและการบันทึกจ านวนน้ าที่รับเข้าและขับออกจากร่างกาย
การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมงและทุกวัน
แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วยเพื่อสะดวกในการจดบันทึกและเมื่อครบ 24 ชั่วโมง ต้องสรุปลงในแผ่นรายงานประจำตัวของผู้ป่วยหรือฟอร์มปรอท
บันทึกจำนวนสารนํ้าที่สูญเสียทางอื่นๆ เช่น อาเจียนท้องเดินของเหลวที่ระบายออกจากการใช้เครื่องดูดกับสายยางจากกระเพาะ
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
ปฏิกิริยาภูมิแพ้ (Allergic reaction)
การถ่ายทอดโรค (Transfusion-associated graft versus host disease)
ไข้ (Febrile transfusion reaction)
การอุดตันจากฟองอากาศ(Air embolism)
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป(Volume overload)
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis)
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ (Hyperkalemia)