Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
หัวข้อ 4.3.1- 4.3.4
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารละลายไฮโปโทนิก (Hypotonic solution)
ทำให้เกิดการเคลื่อน ของน้ำเข้าสู่เซลล์ ฉะนั้นการให้สารน้ำชนิดนี้ต้องให้อย่างช้า ๆ เพื่อป้องการลบกวนของเซลล์
ออสโมลาริตี้ น้อยกว่า 280 m0sm/l ซึ่งค่า Osmolarityน้อยกว่าน้ำนอกเซลล์ เป็นสารน้ำที่มีโมเลกุลอิสระของน้ำมากกว่าในเซลล์
สารละลายไฮเปอร์โทนิก (Hypertonic solution)
ป็นสารน้ำที่มีค่าออสโมลาริตี้ มากกว่า 310 m0sm/l ซึ่งมีมากกว่าออสโมลาริตี้ของน้ำนอกเซลล์
สารน้ำอันนี้มีโมเลกุลอิสระของน้ำน้อยกว่าน้ำใน เซลล์ และจะทำให้เกิดการดึงน้ำจากเซลล์สู่ระบบการไหลเวียน ได้แก่ 5% Dextrose in half-normal saline
สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)
ซึ่งมีออสโมลาริตี้ระหว่าง 280-310 m0sm/l เมื่อให้ทางหลอดเลือดดำจะไม่มีการ เคลื่อนที่ของน้ำเข้าหรือออกจากเซลล์
Isotonic จึงช่วยเพิ่มปริมาตรของน้ำที่อยู่นอก เซลล์ ได้แก่ Lactated Ringer’s , Ringer’s, Normal saline, 5% Dextrose in water, 5% Albumin, Hetastarch และNormosol เป็นต้น
จะมีความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล์ (Extracellular fluid)
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก
สายให้สารน้ำ มีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกด
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด
ความหนืดของสารน้ำ
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น หรือญาติผู้ป่วยหมุนปรับเอง
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำใหญ่ (Central venous therapy)
เป็นการ ให้สารน้ าหรือของเหลวทาง Central line ทางหลอดเลือดด าใหญ่ ๆ ได้แก่ Subclavian vein, Internal & External jugular veins และ Right & Left Nominate veins เป็นต้น
การให้สารน้้าและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง (Implanted vascular access device หรือ venous port)
เป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลว ทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนัง โดยที่ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดำใหญ่ เช่น Subclavian vein, Right & Left Nominate veins เป็นต้น
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย (Peripheral intravenous infusion)
Heparin lock หรือ Saline lock เป็นการแทงเข็มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลายและคา เข็มที่หล่อด้วยสารต้านการแข็งตัวของเลือด (Heparin)
วัตถุประสงค์ในการให้สารละลายและยาเข้าทางหลอดเลือดดำเป็นครั้งเป็นคราว
Piggy back IV Administration เป็นการให้สารน้ำขวดที่ 2 ซึ่งมีขนาดบรรจุ 25 – 250 มล.² ต่อเข้ากับชุดให้สารน้ำขวดแรก
วัตถุประสงค์เพื่อให้ยาหยดเข้าทางหลอดเลือดดำช้า ๆ ขณะที่สารน้ำใน piggyback set หยด สารน้ำที่ให้อยู่ก่อนจะหยุดไหลชั่วคราว จนกว่าสารน้ำใน Piggy back หมด สารน้ำใน ขวดหลักก็จะไหลต่อ
เป็นการให้ สารน้ำหรือของเหลวทางหลอดเลือดดำที่อยู่ในชั้นตื้น ๆ ของผิวหนังหรือหลอดเลือดดำที่อยู่ในส่วนปลายของ แขนและขา โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ต้องงดอาหารและน้ำดื่ม เพื่อเตรียมผ่าตัด
การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำ
ในการคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำทางหลอดเลือดดำมีสูตรในการคำนวณดังนี้
สูตรการค้านวณอัตราหยดของสารน้้าใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย (หยด/ นาที) = จำนวน Sol.(มล/ชม.) x จำนวนหยดต่อมล.) / เวลา(นาที)
สูตรการค้านวณสารน้้าที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชม. = ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ /จำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
หัวข้อ 4.3.5 - 4.3.8
อาการแทรกซ้อนจากการได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ (Local complication)
การติดเชื้อเฉพาะที่ (Local infection)
หลอดเลือดดำอักเสบ (Phlebitis) ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็มบวม
การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม (Extravasations)
การพยาบาล
หยุดให้สารน้ำ จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย
ประคบด้วยความร้อนเปียก
เปลี่ยนที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย เพื่อลดอาการบวม
ส่งหนองบริเวณที่แทงเข็มเพาะเชื้อ
การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอก หลอดเลือดดำ (Infiltration)
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด (Systemic complication)
การติดเชื้อในกระแสเลือด (Bacteremia หรือ Septicemia)
เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด (Air embolism)
การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ (Allergic reaction)
ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป (Circulatory overload)
การพยาบาล
หยุดให้สารน้ำ
เปลี่ยนขวดให้สารน้ำ กรณีผู้ป่วยมีการแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ หรือมีการติดเชื้อ
ให้การช่วยเหลือตามอาการ เช่น ให้ ออกซิเจนในกรณีที่ผู้ป่วยหายใจไม่ออก แล้วรีบ รายงาน ให้แพทย์ทราบ เพื่อให้การรักษา
วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
เตรียมรถ Emergency ในการช่วยเหลือเร่งด่วน
รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
ส่งเลือดและหนองที่เกิดเฉพาะที่ไปเพาะเชื้อ
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ออกซิเจน
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะต่ำกรณีความดันโลหิตต่ำ หรือจัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงกรณี ความดันโลหิตสูง
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์ของการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
ให้สารน้ำเพียงพอกับความต้องการของร่างกายในรายที่ไม่สามารถรับประทานได้ทางปาก
ให้ยาบางชนิดที่ไม่สามารถดูดซึมทางระบบทางเดินอาหาร
ให้สารน้ำทดแทนน้ำที่สูญเสียจากร่างกาย
รักษาสมดุลของกรด-ด่างในร่างกาย ในรายที่มีภาวะเสียสมดุลกรด–ด่าง
ใช้เป็นช่องทางในการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดด า ติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยให้ปริมาณของยาใน กระแสโลหิตอยู่ในระดับสม่ำเสมอกัน
แก้ไขความดันโลหิต โดยการให้สารละลายที่มีความเข้มข้นมากกว่าน้ำในร่างกาย
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยได้รับสารน้ าทางหลอดเลือดดำไม่พบอาการแทรกซ้อนและปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุง การปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม่
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน เพื่อนำมา ปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
ประเมินคุณภาพของการปฏิบัติงานในข้อ 2 อยู่ในคุณภาพระดับใด
ประเมินคุณภาพของการให้บริการ ข้อ 3 อยู่ในคุณภาพระดับใด
การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เป็นการประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย (โดยการสอบถามผู้ป่วย)
ระเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของผู้ป่วยและปลอดภัยตาม หลักการ 6 Rightsและหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วยและจัดท่านอนให้สุขสบายและเหมาะสม (โดยการสอบถาม ผู้ป่วย)
ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย (โดยการสอบถามผู้ป่วย) ผู้ป่วยบอกว่า “รู้สึกพึงพอใจต่อการบริการจากคุณพยาบาล...”
การหยุดให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
อุปกรณ์เครื่องใช้
พลาสเตอร์
ถุงมือชนิดใช้แล้วทิ้ง
สำลีปลอดเชื้อ หรือก๊อซปลอดเชื้อ
วิธีปฏิบัติ
แกะพลาสเตอร์ที่ปิดยึดหัวเข็ม และสายให้สรน้ำออกทีละชิ้น ระวังอย่าให้เข็มถูกดึงรั้งออก ทางผิวหนัง
สวมถุงมือเพื่อไม่ให้เลือดสัมผัสกับมือพยาบาล
ปิด clamp
ดึงเข็มที่ให้สารน้ำออกทางผิวหนังตามแนวที่แทงเข็มด้วยความนุ่มนวล
ใช้สำลีแห้งหรือก๊อซปลอดเชื้อกดทับที่ต าแหน่งที่ดึงเข็มออกหรือยึดติดด้วย พลาสเตอร์ และ ปิดไว้นาน 8 ชั่วโมง เพื่อป้องกันการติดเชื้อจนกว่าเลือดจะหยุด
เก็บชุดให้สารน้ำและเข็มที่แทงให้เรียบร้อย
บันทึกในบันทึกทางการพยาบาลวัน เวลาและเหตุผลของการหยุดให้สารน้ำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินแผนการรักษา
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม เช่น ไม่มีบาดแผล
ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน
หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่าง ๆ
เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้
อุปกรณ์เครื่องใช้
ชุดให้สารน้ำ (IV Administration set) ใช้เป็นทางผ่านของสารน้ำจาก ขวดไปสู่หลอดเลือดด าของผู้ป่วยบรรจุในซองที่ปิดผนึกมิดชิดผ่านการฆ่าเชื้อ สามารถเปิดใช้ได้ทันที ลักษณะ เป็นสายสีขาวใสมองเห็นสารน้ำได้ตลอดสาย ส่วนบนเป็นแท่งพลาสติกแข็งปลายแหลมใช้แทงผ่านจุกขวด ต่อ จากโคนเข็มมีกระเปาะพักน้ำ
เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย (Peripheral insertion devices) ท าด้วยเทฟล่อน นิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบัน มีหลายขนาดตั้งแต่เบอร์ 14, 16, 18, 20, 22 และ 24 เป็นต้น
ขวดสารน้ำ โดยขวดสารน้ำ/ยา ต้องเตรียมให้ตรงกับใบสั่งการรักษาและตรวจสอบดูว่าสภาพ ขวดสารน้ำ/ยาไม่มีรอยแตกร้าว หรือรูรั่วสารน้ำไม่หมดอายุ ไม่มีลักษณะขุ่น ไม่มีผงตะกอนลอยอยู่ภายขวด สารน้ำ/ยา เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำ/ยาที่ปราศจากเชื้ออย่างแท้จริง
อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น เสาแขวนขวดให้สารน้ำ ยางรัดแขน (Tourniquet) แผ่น โปร่งใสปิดตำแหน่งที่แทงเข็ม (Transparent dressing) หรือก๊อซปลอดเชื้อ ไม้รองแขน พลาสเตอร์ สำลี ปลอดเชื้อ 70% Alcohol ถุงมือสะอาด เป็นต้น
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการบริหารยา
วัตถุประสงค์ของการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาออกฤทธิ์เร็ว
ให้ยาที่มีผลระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อ
ให้ยาชนิดที่ไม่สามารถให้ทางอื่นได้ผลต่อการรักษา
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights
ผู้ป่วยปลอดภัยตามหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
วิธีการฉีดยาแบบที่ 3 Surg plug กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 4 Surg plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 2 IV plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 5 three ways กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 1 IV plug กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 6 three ways กับ syringe IV push
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
การบริหารยาที่มีประสิทธิภาพโดยใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลการบริหารยาฉีด เป็นการประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย (โดยการสอบถามผู้ป่วย) “รู้สึกเป็นอย่างไรบ้าง? เจ็บหรือปวดบริเวณฉีดยาหรือไม่ ? อย่างไร ?” “รู้สึกมีอาการอย่างไรบ้าง”
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วยและจัดท่านอนให้สุขสบายและเหมาะสม
ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของผู้ป่วยและปลอดภัยตาม หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goal
ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย (โดยการสอบถามผู้ป่วย) ผู้ป่วยบอกว่า “รู้สึกพึงพอใจต่อการบริการจากคุณพยาบาล...”
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุง การปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม่
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน เพื่อนำมา ปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
ประเมินคุณภาพของการปฏิบัติงานในข้อ 2 อยู่ในคุณภาพระดับใด
ประเมินคุณภาพของการให้บริการ ข้อ 3 อยู่ในคุณภาพระดับใด
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
หัวข้อ 4.3.9 - 4.3.12
อาการแทรกซ้อนจากการได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้สารอาหารมากเกินไป (Circulatory overload) พบได้ง่ายในผู้ป่วยเด็ก ผู้ที่มีปัญหาของ ระบบไหลเวียนเลือด และไต อาจเนื่องจากให้สารอาหารที่เร็วเกินไป
ลักษณะที่พบได้แก่
ผู้ป่วยมีปริมาณน้ำเข้าออกไม่สมดุล
มีการคั่งของเลือดดำจะพบว่าหลอดเลือดดำที่คอโป่ง
ตรวจพบความดันเลือดและแรงดันหลอดเลือดส่วนกลางสูงขึ้น ชีพจรเร็ว
ถ้ารุนแรงจะมีภาวะปอดบวมน้ำ อาการคือ หายใจลำบาก นอนราบไม่ได้
อาการแสดงที่ปรากฏเริ่มแรก คือ ปวดศีรษะ หายใจตื้น และหอบเหนื่อย
การพยาบาลและการป้องกัน
บันทึกสัญญาณชีพ
จัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่านั่งเพื่อช่วยให้หายใจสะดวกขึ้น
ปรับอัตราหยดให้ช้าที่สุดและรายงานให้แพทย์ทราบด่วน
ไข้ (pyrogenic reactions)
ลักษณะที่พบได้แก่
ปวดหลัง ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน
หนาวสั่น
ไข้สูง 37.3-41 องศาเซลเซียส
ความรุนแรงของอาการขึ้นอยู่กับเชื้อจุลินทรีย์ที่ได้รับและสภาวะของผู้ป่วย
การพยาบาลและการป้องกัน
เขียนวัน เวลาที่เริ่มให้สารอาหารข้างขวดเพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทราบโดยทั่วไป สารอาหารแต่ละขวดไม่ควรให้นานเกิน 24 ชั่วโมง
ตรวจสอบรูรั่วของสายให้อาหารก่อนใช้ทุกครั้ง
การเตรียมสารอาหารควรทำด้วยวิธีปลอดเชื้อ ก่อนให้สารอาหารทุกครั้ง ควรตรวจดู ว่ามีการร้าวของขวดให้สารอาหารหรือไม่ และความขุ่นของสารอาหาร
เปลี่ยนชุดให้สารอาหารทุก 24 ชั่วโมง
ถ้าเป็นไปได้ ควรเก็บชุดให้สารอาหารและชุดสายให้สารอาหารส่งเพาะเชื้อ
ควรมีสถานที่เฉพาะส าหรับเตรียมสารอาหารและหมั่นรักษาความสะอาดกำจัดฝุ่นละอองให้มากที่สุด
บันทึกสัญญาณชีพ และรายงานแพทย์
ล้างมือทุกครั้งก่อนสัมผัสอุปกรณ์และบริเวณที่แทงเข็ม
หยุดให้สารอาหาร
หุ้มผ้าก๊อซปราศจากเชื้อบริเวณรอยข้อต่อต่างๆ
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด (Embolism) ที่พบบ่อยจะเป็นก้อนเลือด (thromboembolism) และอากาศ (air embolism)
ลักษณะที่พบได้แก่
อาการเขียว เนื่องจากขาดออกซิเจน ความดันเลือดต่ำ ชีพจรเบาเร็ว หมด ความรู้สึก
สังเกตพบว่าอัตราการหยดของสารอาหารจะช้าลง หรือหยุดไหล
การพยาบาลและการป้องกัน
หยุดให้สารอาหารทันทีถ้าพบว่ามีก้อนเลือดอุดตันที่เข็ม
ห้ามนวดคลึงเพราะอาจทำให้ก้อนเลือดนั้นหลุดเข้าไปในกระแสเลือด
ระมัดระวังในการเปลี่ยนขวดสารอาหารไม่ให้อากาศผ่านเข้าไปในชุดสาย
การหยุดให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
เมื่อไม่มีความจำเป็นที่จะให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำให้งด สารละลายไขมันได้ทันที และลด ความเข้มข้นของน้ำตาลกลูโคส และกรดอะมิโนลง รวมทั้งเกลือแร่ต่างๆ ด้วย ในขณะเดียวกันก็เพิ่มอาหารที่ให้ ทางปาก
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง (Local infiltration) เกิดขึ้นเมื่อเข็มเคลื่อน ออกจากหลอดเลือด พบได้บ่อยในหลอดเลือดที่เล็ก บาง หรือผู้ป่วยที่มีกิจกรรมมาก
ลักษณะที่พบได้แก่
บวมบริเวณที่ให้
ผู้ป่วยรู้สึกไม่สุขสบายบริเวณที่ให้
การพยาบาลและการป้องกัน
ถ้าพบว่ามีสารอาหารซึมออกมาอยู่ในเนื้อเยื่อควรหยุดให้สารอาหารทันที
ควรดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันการเกิดสารอาหารซึมออกมาอยู่ในเนื้อเยื่อส่วนมาก ภาวะนี้มักเกิดจากการเลือกตำแหน่งที่แทงเข็มไม่เหมาะสม
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ให้ผู้ป่วยได้รบัสารน้ำตามแผนการรักษาและไม่เกิดอาการแทรกซ้อน
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย ชนิด และปริมาณของ สารอาหารอัตราหยดต่อนาที วัน และเวลาที่เริ่มให้ วัน และเวลาที่สารอาหารหมด ชื่อผู้เตรียมสารอาหาร
สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับผู้ป่วย เช่น มีผื่นขึ้นตามตัว หายใจเร็วหรือช้ากว่าปกติ
เป็นต้น
ผู้ป่วยที่ได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย (peripheral vein) ควรเปลี่ยน ตำแหน่งให้ทุก 3 วัน หรือทุกครั้งที่มีสารอาหารรั่วไหล (leak) ออกนอกเส้น
ถ้าสารอาหารที่ให้ทางหลอดเลือดดำรั่ว หรือทางเส้นเลือดดำอุดตัน ให้ไม่ได้ ควรรายงานให้ แพทย์ทราบ
ประเมินสัญญาณชีพก่อนและขณะให้สารอาหารและติดตามทุก 2-4 ชั่วโมง
หลีกเลี่ยงการให้ยาฉีดทางหลอดเลือดดำสายเดียวกับให้สารอาหารทางหลอกเลือดดำถ้า จำเป็นต้อง push ยาเข้าทางสายให้อาหาร (IV catheter) ในตำแหน่งเดียวกับที่ให้สารอาหาร ให้ระมัดระวัง การเข้ากันไม่ได้ของยา และสารอาหารอาจมีการตกตะกอน
ก่อนและขณะให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ควรมีการประเมินสภาพร่างกาย และควบคุม ผู้ป่วยในระยะแรก และระยะหลังของการได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ดูแลทางด้านจิตใจ โดยอธิบายให้เข้าใจถึงความจำเป็นในการได้สารอาหาร ประโยชน์ที่ได้รับ เพื่อผู้ป่วยจะได้ให้ความร่วมมือ
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
มีโอกาสเกิดสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือดจากการให้สารอาหารทางหลอด เลือดดำเป็นเวลาหลายวัน
วัตถุประสงค์ เพื่อ
ไม่เกิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบ
ไม่เกิดสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด
มีโอกาสเกิดหลอดเลือดด าอักเสบจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำเป็นเวลาหลาย วัน
เกณฑ์การประเมินผล
บริเวณที่ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำไม่มีบวมแดง
สัญญาณชีพปกติ
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ (Evaluation)
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุง การปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน เพื่อนำมา ปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ เป็นการประเมินผลลัพธ์ การพยาบาล
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย (Assessment)
S: “รู้สึกปากแห้ง อยากเคี้ยวอาหารทางปาก”
O: Known case CA stomach S/P Subtotal gastrectomy มีรูปร่างผอม รับประทานอาหารทางปากและอาหารทางสายให้อาหารไม่ได้ แพทย์มีแผนการรักษาให้ 10% Aminosal 500 ml v drip OD
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Total parenteral nutrition (TPN)
เป็นการให้โภชนบำบัดครบตามความต้องการของผู้ป่วย ทั้งปริมาณพลังงานที่ต้องการ และสารอาหารทุกหมู่ ในกรณีนี้สารอาหารที่ให้ทางหลอดเลือดดำจะมีความ เข้มข้นสูงมาก จ าเป็นต้องให้ทาง Central vein จึงจะไม่เกิดการอักเสบของหลอดเลือดดำ (Phlebitis) แต่ ผู้ป่วยจะได้อาหารครบสมบูรณ์
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
เป็นการให้โภชนบ าบัดทางหลอดเลือดดำ เพียงบางส่วน อาจได้พลังงานไม่ครบตามความต้องการ หรือได้สารอาหารไม่ครบทุกหมู่ กรณีนี้ถ้าความเข้มข้น ของสารอาหารไม่มากนัก สามารถให้ทางหลอดเลือดดำแขนง (peripheral vein) ได้
ต้าแหน่งของการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้ทางหลอดเลือดดำแขนง (peripheral vein)
การให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่ (central vein)
ส่วนประกอบของสารอาหารในสารละลาย
โปรตีนอยู่ในรูปกรดอะมิโน
วิตามิน
สารละลายไขมัน (fat emulsion)
เกลือแร่
คาร์โบไฮเดรต
น้ำให้คำนวณจำนวนน้ำที่จะให้แก่ผู้ป่วยตามน้ำหนักตัว
อุปกรณ์ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
สายให้อาหารทางหลอดเลือดดำปัจจุบันสายให้อาหารทางหลอดเลือดดำมีรูปแบบต่างๆ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของผู้ป่วยแต่ละราย
ชุดให้สารอาหาร
ข้อบ่งชี้ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ภาวะทางศัลยกรรม เช่น ถูกน้ำร้อนลวก ภายหลังการผ่าตัด เป็นต้น
ความผิดปกติของจิตใจ เช่น anorexia nervosa เป็นต้น
โรคของอวัยวะต่างๆ เช่น ภาวะไตวาย โรคหัวใจแต่กำเนิด เป็นต้น
โรคมะเร็งต่างๆ เช่น มะเร็งกระเพาะอาหาร เป็นต้น
โรคทางเดินอาหาร เช่น อุจจาระร่วงเรื้อรัง การอักเสบในระบบทางเดินอาหาร ลำไส้ อักเสบ จากการฉายรังสี เป็นต้น
ขั้นตอนในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ตอ่สายยางให้อาหารเข้าไปในชุดให้สารอาหาร ปิดผ้าก๊อซปราศจากเชื้อบริเวณรอยต่อโดยใช้ เทคนิคปราศจากเชื้อ
ตรวจสอบ PPN หรือ TPN จะต้องไม่ขุ่นหรือมีตะกอน
เตรียมอุปกรณ์ในการให้ PPN หรือ TPN ที่สะอาดปราศจากเชื้อ และเตรียมชุดให้สารอาหาร ให้พร้อม โดยการเช็ดทำความสะอาดจุดปิดขวดสารอาหารด้วยสำลีปราศจากเชื้อชุด แอลกอฮอล์ 70%
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย ชนิดและปริมาณของสารอาหาร อัตราหยดต่อนาที วันและเวลาที่เริ่มให้ วันและเวลาที่สารอาหารหมด ชื่อผู้เตรียมสารอาหาร
ล้างมือให้สะอาดก่อนให้การพยาบาลทุกครั้ง สวมmask
นำสารอาหารและสายยางให้สารอาหารไปต่อกับผู้ป่วยโดยเช็ดบริเวณรอยต่อด้วยสำลีชุบ แอลกอฮอล์ ปิดด้วยผ้าก๊อซปราศจากเชื้อ
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
ให้สารอาหารปรับจำนวนหยดตามแผนการรักษา (ควรใช้เครื่องควบคุมการให้สารน้ำตาม อัตราหยดของสารอาหารตามที่คำนวณได้)
วัตถุประสงค์
ให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและน้ำทางปากไม่ได้ หรือรับประทานได้น้อยไม่เพียงพอต่อความ ต้องการของร่างกาย
ทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป เช่น อาเจียน อุจจาระร่วงรุนแรง หรืออุจจาระร่วงเป็นระยะ เวลานาน เป็นต้น
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การให้เลือด (Blood transfusion)
การให้เลือด หรือเฉพาะเม็ดเลือด หรือเฉพาะน้ำเลือด แก่ผู้ป่วยโดยผ่านเข้าทางหลอดเลือดดำ การให้เลือดแม้จะช่วยชีวิตผู้ป่วยได้
นระบบ ABO จ าแนกหมู่เลือดออกเป็น 4 หมู่ คือ หมู่เลือด A, B, AB และ O
เลือด (whole blood)
เกร็ดเลือด (platelet)
น้ำเลือด (plasma)
เซลล์เม็ดเลือด
การให้และการรับเลือดในหมู่เลือด
คนเลือดกรุ๊ป AB รับได้จากทุกกรุ๊ป แต่ให้เลือดแก่ผู้อื่นได้เฉพาะคนที่เป็นเลือดกรุ๊ป AB
คนเลือดกรุ๊ป A รับได้จาก A และ O ให้ได้กับ A และ AB
คนเลือดกรุ๊ป O รับได้จาก O เท่านั้น แต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
คนเลือดกรุ๊ป B รับได้จาก B และ O ให้ได้กับ B และ AB
คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve ต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น แต่ต้องดูกรุ๊ปเลือดตามระบบ ABO ด้วย (หาก คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve รับเลือดจาก Rh+ve อาการข้างเคียงจะยิ่งรุนแรงมากขึ้น ในครั้งถัดๆไป)
หัวข้อ 4.3.13 - 4.3.16
การบันทึกสารน้ำเข้าออกร่างกาย
หลักการบันทึกจ้านวนสารน้้าที่เข้าและออกจากร่างกาย
ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกำหนดจำนวนน้ำที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
จดบันทึกจำนวนน้ำและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร พร้อมทั้ง อธิบายให้ผู้ป่วยดื่มน้ำในขวดที่เตรียมไว้ให้ ไม่นำน้ำที่เตรียมไว้ไปบ้วนปากหรือเททิ้ง
อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัดและการบันทึกจำนวนน้ำที่รับเข้าและขับออกจาก ร่างกาย
การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย เพื่อสะดวกในการจดบันทึกและเมื่อครบ 24 ชั่วโมง ต้องสรุปลงในแผ่นรายงานประจำตัวของผู้ป่วยหรือฟอร์มปรอท
บันทึกจ านวนสารน้ าที่สูญเสียทางอื่น ๆ เช่น อาเจียน ท้องเดิน ของเหลวที่ระบายออกจากการ ใช้เครื่องดูดกับสายยางจากกระเพาะ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของน้ำในร่างกาย
ผู้ป่วยรายหนึ่งเข้ารับการผ่าตัดนิ่วในไต แพทย์มีแผนการรักษาให้งดน้ำและอาหารทางปาก และให้ สารน้ำชนิด 5% Dextrose in water 1000 cc vein drip 100 cc/hr บริเวณหลังมือซ้าย ภายหลังจากผ่าตัด 5 วัน แผลผ่าตัดบวมแดง แพทย์จึงให้ฉีดยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำ ทุก 4 ชั่วโมงต่อ ขณะที่พยาบาลกำลัง ฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำให้แก่ผู้ป่วย ผู้ป่วยบ่นปวดบริเวณที่ให้ สารน้ำมาก และขอเปลี่ยนตำแหน่งที่แทง เข็มใหม่ พยาบาลสังเกตเห็นหลังมือซ้ายบวมแดง หลอดเลือดดำที่ให้สารน้ำเป็นลำแข็ง จงใช้กระบวนการ พยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลให้แก่ผู้ป่วยรายนี้
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
มีภาวะหลอดเลือดดำอักเสบจากการได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำเป็นเวลานาน
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
วัตถุประสงค์
ไม่เกิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบที่รุนแรงขึ้น
เกณฑ์การประเมินผล
ภาวะหลอดเลือดดำอักเสบลดลง
อาการปวดบริเวณที่ให้สารน้ำลดลง โดยใช้แบบประเมินความปวด (Pain scale)
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
S : ผู้ป่วยบ่นปวดบริเวณที่ให้สารน้ำมาก ขอเปลี่ยนตำแหน่งที่แทงเข็มใหม่
O : จากการสังเกตบริเวณที่หลังมือซ้ายบวมแดง หลอดเลือดดำที่ให้สารน้ำเป็นลำแข็ง บริเวณที่ แทงเข็มให้สารน้ำเป็นตำแหน่งเดิมนาน 5 วันแล้ว
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
จัดมือซ้ายที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย โดยใช้หมอนรอง เพื่อลดอาการบวม
เปลี่ยนบริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
ประเมินการขาดสารน้ำและอิเล็คโตรไลท์ โดยบันทึกปริมาณสารน้ำเข้าและออกทุก เวร เพื่อให้ความช่วยเหลือและแก้ไขโดยเร็ว
ประเมินอาการบวมที่หลังมือซ้ายทุกเวร หากบวมมากขึ้น ผู้ป่วยมีไข้
ลดภาวะเครียดโดยให้ความช่วยเหลือทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
หยุดให้สารน้ำทันที
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินอาการหลอดเลือดดำอักเสบบริเวณหลังมือ (อาการบวมลดลง)
ปริมาณสารน้ำเข้าและออกมีความสมดุล
ประเมินอาการปวดของผู้ป่วย (โดยการสังเกตสีหน้าท่าทางของผู้ป่วย และจาก Pain scale) ผู้ป่วยสีหน้าสดชื่น ไม่บ่นปวดบริเวณหลังมือซ้าย
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
วัตถุประสงค์ของการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ทดแทนเม็ดเลือดแดง และรักษาระดับฮีโมโกลบิน (hemoglobin: Hb) เป็นการรักษาระดับ ความสามารถในการนำออกซิเจนไปเลี้ยงเซลล์ของร่างกาย
ทดแทนปัจจัยการแข็งตัวของเลือด เช่น ผู้ป่วยโรคฮีโมฟีเลีย (hemophelia) เป็นต้น
ทดแทนปริมาณเลือดที่สูญเสียไป เช่น จากการตกเลือดหรือจากการผ่าตัด เป็นต้น
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยได้รับเลือดและสารประกอบของเลือดไม่พบอาการแทรกซ้อนและปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้เลือดและสารประกอบของเลือดตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินแผนการรักษา
อาการแทรกซ้อนจากการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ปฏิกิริยาภูมิแพ้ (Allergic reaction) เกิดจากผู้รับแพ้สารอย่างใดอย่างหนึ่งในเลือดที่ได้รับ ผู้ป่วย จะมีอาการมีผื่นคัน หรือลมพิษ
การถ่ายทอดโรค (Transfusion-associated graft versus host disease) มักเกิดจากการขาด การตรวจสอบเลือดของผู้ให้ ซึ่งมีการติดเชื้อต่าง ๆ
ไข้ (Febrile transfusion reaction) เกิดจากการได้รับสารที่ท าให้เกิดไข้ เชื้อแบคทีเรียจาก เครื่องใช้หรือเทคนิคการให้เลือดที่ไม่สะอาด
การอุดตันจากฟองอากาศ (Air embolism) เกิดจากการไล่ฟองอากาศไม่หมดไปจากสายให้เลือด อากาศจะลอยไปตามกระแสเลือด
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป (Volume overload) เกิดจากการให้เลือดใน อัตราเร็วเกินไป
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ เกิดจากการให้เลือดติดต่อกันเป็นจ านวนมากจึงมีการสะสมของสารกัน การแข็งตัวของเลือด (Acid – citrate dextrose)
เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis) เกิดจากการให้เลือดผิดหมู่
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ (Hyperkalemia) เกิดจากการให้เลือดที่เก็บไว้ในธนาคารเลือดนานเกินไป หลังจากที่ผู้ป่วยได้เลือดจะพบอาการคลื่นไส้อาเจียน ท้องเดิน กล้ามเนื้ออ่อนแรง