Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พัฒนาการทารกในครรภ์การเกิดรกและพัฒนาการรก - Coggle Diagram
พัฒนาการทารกในครรภ์การเกิดรกและพัฒนาการรก
ลักษณะของรก
Maternal surface สีแดงเข้ม แยกเป็นก้อน ประมาณ 15-30 cotyledon ร่องระหว่าง cotledon เรียกว่า Placeta sulcus
Fetal Surface สีเทาอ่อน เป็นมัน มีสายสะดือ มักสิ้นสุดก่อนขอบรก 1-2 ซม.
หน้าที่ของรก
Respirations
Excretion
แลกเปลี่ยนอาหาร
สร้าง Hormone
สร้างภูมิคุ้มกัน
Placenta hormone
Human chorionic gonadotropin (HCG)กระตุ้นให้ corpus luteum สร้างฮอร์โมน พบสูงสุดในช่วง 7-10 สัปดาห์
Human placenta lactogen ส่งเสริมการเจริญเติบโตในรด เตรียมเต้านม ต้านอินซูลิน
Estrogen กระตุ้นให้มดลูกมีการเจริญเติบโต เพิ่มการไหลเวียนที่มดลูก กระตุ้นท่อน้ำนม
Progesterone ช่วยในการฝังตัวของ blastocyst ลดหารหดตัวของมดลูก กระตุ้นท่อน้ำนม
DECIDUA (เยื่อบุโพรงมดลูก)
-Decidua basalis :
เยื่อที่อยู่ภายใต้บริเวณที่ไข่ฝังตัว จะมีขอบเขตขยายไปตามการเจริญเติบโตของไข่ เจริญแตกแขนงเป็นกระจุก เรียกว่า Cotyledon -> Chornic Frondosum -> รก
-Decidua capsularis :
ส่วนที่งอกมาคลุม รอบแผลที่ไข่ฝังตัว ถูกดันให้ยืดจนมาเบียดชิดกับโพรงอีกด้านหนึ่ง และเชื่อมติดกับเยื่อบุมดลูกส่วนนั้นจนปิดโพรงมดลูก ในสัปดาห์ที่ 12-16 ถูกกดสลายไป เรียกว่า Chorionleave -> Chorionic membrane (เยื่อหุ้มเด็กชั้นนอก)
-Decidua parietalis (Decidua vera):
พื้นที่เยื่อบุมดลูก ส่วนที่เหลือทั้งหมดโดยรอบโพรงมดลูก ซึ่งต่อไปจะเชื่อมติดกับ decidua capsularis
พัฒนาการทารกในครรภ์
สัปดาห์ที่ 8
เริ่มเห็นตาชัดเจนขึ้น มือและเท้าเริ่มสร้างขึ้น หัวใจพัฒนาเสร็จสมบูรณ์ Cell กระดูกเริ่มเปลี่ยนเป็นกระดูกอ่อน อวัยวะของร่างกายเริ่มก่อตัว
สัปดาห์ที่ 9
เริ่มสร้างนิ้วมือ เปลือกตายังปิดอยู่
สัปดาห์ที่10
การเจริญเติบโตของหัวค่อยๆเพิ่มขึ้นช้าๆ ไขกระดูกสร้างและผลิต RBCเริ่มสร้างกระเพาะปัสสาวะ ไตเริ่มกรองปัสสาวะ
สัปดาห์ที่11
ฟันเริ่มปรากฎ ตับเริ่มหลั่งน้ำดี ระบบทางเดินปัสสวะเริ่มทำหน้าที่เริ่มผลิตอินซูลิน
สัปดาห์ที่28
มีไขมันสะสมที่ชั้นใต้ผิวหนัง ขนอ่อนเริ่มขึ้น เล็บปรากฏ หนังตาเปิดและปิดได้ ลูกอัณฑะเริ่มเคลื่อนลง
สัปดาห์ที่32
ระบบประสาทส่วนกลางสั่งการเคลื่อนไหว การหายใจที่เป็นจังหวะ ระบบประสาทส่วนกลาง ควบคุมอุณหภูมิร่างกายได้บางส่วน มีธาตุเหล็กแคลเซียม และฟอสฟอรัสมากในทารก
สัปดาห์ที่36
ไขมันใต้ชั้นผิวหนังลดลง ขนอ่อนเริ่มปรากฎ ผิวแทบจะไม่มีรอยย่น เล็บยาวพิ้นปลายนิ้ว วงจรหลับ นอนชัดเจน ได้รับแอนติบอดีจากมารดา
สัปดาห์ที่ 40
ขนอ่อนเหลือเพียงบริเวณไหล่ ไขมันตามข้อพับเหลืออยู่ หูยังเป็นกระดูกอ่อน
สัปดาห์ที่ 12
ได้ยินเสียงหัวใจของทารก สมองและกล้ามเนื้อเริ่มทำงานประสานกันแขนขาของทารกจะขยับไปมา นิ้วมือและนิ้วเท้าพัฒนาจนสมบูรณ์แล้วและงอได้ทารกจะเริ่มดูดนิ้วและอาจกลืนน้ำคร่ำ
สัปดาห์ที่ 16
เมโคเนียมในรูปแบบลำไส้มีขนหนังศีรษะปรากฏ ผิวหนังบาง ไวต่อแสง ดูดนิ้วหัวแม่มือกลืนกลืนสะอึก
สัปดาห์ที่ 20
การเกิด myelination ของไขสันหลังเริ่มต้นขึ้น มีการบีบตัวของเยื่อบุช่องท้อง ดูดและกลืนน้ำคร่ำ การเต้นของหัวใจด้วย fetoscope มือสามารถจับได้
สัปดาห์ที่ 24
ปอดเริ่มทำงาน ดวงตาเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ ขนตาและนัยน์ตา นุ่มนวล มีการสะท้อนกลับมากมายปรากฏขึ้น ริ้วรอยผิวและรอยเหี่ยวย่น
เยื่อหุ้มทารก
Amnion (เยื่อหุ้มเด็กชั้นใน)
: บาง ใส เหนียว เจริญมาจาก Inner cell mass
Chorion (เยื่อหุ้มเด็กชั้นนอก)
: ขุ่น ไม่เรียบ ขาดง่าย เจริญมาจาก Trophoblast
Umbilical Cord
เจริญมาจาก Body stalk มีความยาวประมาณ 50 cms มีเส้นเลือด Umbilical Vein 1 เส้น และ Umbilical artery 2 เส้น ตัวของสายสะดือ เป็น Wharton's jelly เพื่อป้องกันการกดทับ
Amniotic fluid (น้ำคร่ำ)
มีฤทธิ์เป็นด่าง ระยะแรกมาจาก Amniotic Epithelium cell ของ Amniitic cavity แต่หลังจาก 20 weeks มาจากทารก
Near birth
- amniitic fluid (500-1,000ml)
ประโยชน์
: การเคลื่อนไหวของทารก, ป้องกันการกระทบกระเทือน, ควบคุมอุณหภูมิ, เป็นหล่งอาหาร, ช่วยในการคลอด
การไหลเวียนของผู้ใหญ่และการไหลเวียนของทารกในครรภ์
Artery
การไหลเวียนของผู้ใหญ่
รับออกซิเจนในเลือดออกไปจากหัวใจ
การไหลเวียนของทารก
รับเลือดที่ไม่ให้ออกซิเจนออกไปจากหัวใจของทารกในครรภ์
Veins
การไหลเวียนของผู้ใหญ่
รับเลือดที่ไม่มีออกซิเจนเข้าหาหัวใจ
การไหลเวียนของทารก
รับออกซิเจนในเลือดกลับสู่หัวใจ
Exchange of Gases
การไหลเวียนของผู้ใหญ่
เกิดขึ้นในปอด
การไหลเวียนของทารก
เกิดขึ้นในรก
preessur
การไหลเวียนของผู้ใหญ่
เพิ่มแรงกดดันทางด้านซ้ายของหัวใจ
การไหลเวียนของทารก
เพิ่มแรงกดดันทางด้านขวาของหัวใจ
ลำดับการไหลเวียนของผู้ใหญ่
เลือดที่ไม่ได้ออกซิเจนจะเข้าสู่ห้องโถงด้านขวาผ่าน Vena Cava ที่ด้อยกว่าและเหนือกว่า
เพิ่มระดับของเลือดในห้องโถงด้านขวาทำให้วาล์ว tricuspid เปิดและระบายเลือดไปยังช่องที่เหมาะสม
ความดันโลหิตในช่องทางด้านขวาทำให้ลิ้นเปิดและเลือดที่ไม่ได้ออกซิเจนถูกส่งไปยังหลอดเลือดแดงปอดแล้วไปยังปอด
การแลกเปลี่ยนก๊าซเกิดขึ้นในปอด ออกซิเจนในเลือดสูงจะถูกส่งกลับไปยังหัวใจผ่านทางหลอดเลือดดำปอดไปยังห้องโถงด้านซ้าย
จากห้องโถงด้านซ้ายความดันของออกซิเจนในเลือดทำให้วาล์ว mitral เปิดและระบายออกซิเจนในเลือดไปยังช่องซ้าย
ช่องซ้ายสูบเลือดออกซิเจนที่เปิดวาล์วหลอดเลือด เลือดมีการกระจายในระบบไหลเวียน
ลำดับการไหลเวียนของทารกในครรภ์
ออกซิเจนในเลือดจะถูกลำเลียงโดยหลอดเลือดดำสะดือ
ductus venosus นำตับของทารกในครรภ์และตรงไปยัง Vena Cava ที่ด้อยกว่า
เลือดจาก ductus venosus เข้าสู่ Vena Cava ที่ด้อยกว่าและห้องโถงด้านขวา
เลือดในห้องโถงด้านขวาผ่าน foramen ovale ไปยังห้องโถงด้านซ้าย
เอเทรียมซ้ายไปยังช่องซ้ายไปสู่เส้นเลือดใหญ่จากน้อยไปมาก บางส่วนผ่านไปยังหลอดเลือดแดงปอด
เมื่อเลือดเข้าสู่หลอดเลือดแดงปอด ductus arteriosus เชื่อมต่อหลอดเลือดแดงปอดและเส้นเลือดใหญ่แดงใหญ่
หลอดเลือดแดงสะดือจะนำเลือดที่ไม่ได้ออกซิเจนออกจากหัวใจไปยังรก
สรัรวิทยาของทารกในครรภ์มารดา
ทารกในครรภ์
หลอดเลือดแดงขนาดเล็ก (Arterioles) ที่อยู่ในปอดตีบแคบมาก
หลอดเลือดในปอดมีความต้านทานสูง เลือดจึงไหลไปปอดน้อย
เลือดส่วนใหญ่ผ่าน DUCTUS ARTERIOSUS เข้าสู่เส้นเลือดแดงใหญ่ AORTA ที่มีความความต้านทานต่ำกว่า
การคำนวณหาอายุครรภ์จากความยาวของทารก
โดย Hasse’s rule ทารกอายุ 1-4 เดือน = เดือน ยกกำลัง 2 ทารกอายุ 5-10 เดือน = เดือน * 5
โครงสร้างของรกรกเจริญมาจาก Trophoblast-syncytiotrophoblast มีหน้าที่สร้างฮอร์โมน-cytotrohoblast มีหน้าที่ป้องกันการติดเชื้อ
ระยะการแทรกซึมของรก
-primary chorionic villi ใช้เวลา 11-13 วัน = cytotrophoblast จะงอกตาม syncytiotrophoblast ไปในเยื่อบุโพรงมดลูก
-secondary chorionic ใช้เวลา16วัน = extra embryonic mesoderm แทรกเป็นแกนกลาง
-Tertiary chorionic villi ใช้เวลา 21 วัน = มรหลอดเลือดอยู่ใน villi แลกเปลี่ยนสารอาหารระหว่างมารดาและทารก