Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.3 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ - Coggle Diagram
บทที่ 4.3 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ชนิดของสารน้้าที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำทุกชนิด
อิเล็กโตไลท์
ส่วนประกอบที่ไม่ใช่ไอออน
กลูโคส
ยูเรีย
แบ่งออกตามความเข้มข้นได้ 3 ชนิด
สารละลายไฮโปโทนิก(Hypotonic solution)
ค่า Osmolarityน้อยกว่าน้ำนอกเซลล์
เป็นสารน้ำที่มีโมเลกุลอิสระของน้ำมากกว่าในเซลล์
ออสโมลาริตี้ น้อยกว่า 280 m0sm/l
สารละลายไฮเปอร์โทนิก(Hypertonic solution)
มีมากกว่าออสโมลาริตี้ของน้ำนอกเซลล์
ทำให้เกิดการดึงน้ำจากเซลล์สู่ระบบการไหลเวียน
เป็นสารน้ำที่มีค่าออสโมลาริตี้ มากกว่า 310m0sm/l
สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)
ความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล์(Extracellular fluid)มีออสโมลาริตี้ระหว่าง 280-310 m0sm/l
เมื่อให้ทางหลอดเลือดดำจะไม่มีการเคลื่อนที่ของน้ำเข้าหรือออกจากเซลล์
ช่วยเพิ่มปริมาตรของน้ำที่อยู่นอกเซลล์
ตัวถูกละลาย
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย(Assessment)
ขั้นตอนที่ 2ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ขั้นตอนที่ 3การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ(Evaluation)
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด (Systemic complication)
การติดเชื้อในกระแสเลือด (BacteremiaหรือSepticemia)
เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด(Air embolism)
การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ(Allergic reaction)
มีผื่นแพ้เกิดขึ้นที่ผิวหนัง ร่วมกับอาการแพ้ต่าง ๆ
ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป(Circulatory overload)
การพยาบาล
หยุดให้สารน้ำ
เปลี่ยนขวดให้สารน้ำกรณีผู้ป่วยมีการแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ
ให้การช่วยเหลือตามอาการ
ให้ ออกซิเจนในกรณีที่ผู้ป่วยหายใจไม่ออก แล้วรีบรายงาน ให้แพทย์ทราบ เพื่อให้การรักษา
วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
เตรียมรถEmergencyในการช่วยเหลือเร่งด่วน
รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
ส่งเลือดและหนองที่เกิดเฉพาะที่ไปเพาะเชื้อ
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ออกซิเจน
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะต่ำกรณีความดันโลหิตต่ำหรือจัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงกรณีความดันโลหิตสูง
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ (Local complication)
การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม(Extravasations)
การติดเชื้อเฉพาะที่(Local infection)
การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอก หลอดเลือดดำ(Infiltration)
หลอดเลือดดำอักเสบ(Phlebitis)
ระดับการอักเสบของหลอดเลือดดำจากการให้สารน้ำ(Phlebitis Scale)
Grade2 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมหรือไม่บวมก็ได้
Grade3ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมแดงเป็นทาง คลำได้หลอดเลือดแข็งเป็นลำ
Grade1 ผิวหนังบริเวณแทงเข็มแดง มีอาการปวดหรือไม่มีก็ได้
Grade4 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมแดงเป็นทาง คลำได้หลอดเลือดแข็งเป็นลำความยาวมากกว่า 1 นิ้ว มีหนอง
Grade 0 ไม่มีอาการ
การพยาบาล
หยุดให้สารน้ำจัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย
ประคบด้วยความร้อนเปียก
เปลี่ยนที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย เพื่อลดอาการบวม
ส่งหนองบริเวณที่แทงเข็มเพาะเชื้อ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล(Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
จัดมือซ้ายที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วยโดยใช้หมอนรอง เพื่อลดอาการบวม
เปลี่ยนบริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4ชั่วโมง เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
ประเมินการขาดสารน้ำและอิเล็คโตรไลท์ โดยบันทึกปริมาณสารน้ำเข้าและออกทุกเวร เพื่อให้ความช่วยเหลือและแก้ไขโดยเร็ว
ประเมินอาการบวมที่หลังมือซ้ายทุกเวร หากบวมมากขึ้น ผู้ป่วยมีไข้
ลดภาวะเครียดโดยให้ความช่วยเหลือทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
หยุดให้สารน้ำทันที
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินอาการหลอดเลือดดำอักเสบบริเวณหลังมือ
ปริมาณสารน้ำเข้าและออกมีความสมดุล
ประเมินอาการปวดของผู้ป่วย
การบันทึกปริมาณน้้าเข้า-ออกจากร่างกาย(Record Intake-Output)
หลักการบันทึกจ้านวนสารน้้าที่เข้าและออกจากร่างกาย
ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกำหนดจ านวนน้ำที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
จดบันทึกจ านวนน้ำและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร
อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัดและการบันทึกจ านวนน้ำที่รับเข้าและขับออกจากร่างกาย
การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมงและทุกวัน
แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย
บันทึกจำนวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่นๆ เช่น อาเจียนท้องเดินของเหลวที่ระบายออกจากการใช้เครื่องดูดกับสายยางจากกระเพาะ
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป(Volume overload)เกิดจากการให้เลือดในอัตราเร็วเกินไป จึงเพิ่มปริมาตรการไหลเวียนในกระแสเลือด ส่งผลให้หัวใจทำงานหนักขึ้น
ไข้ (Febrile transfusion reaction)เกิดจากการได้รับสารที่ทำให้เกิดไข้เชื้อแบคทีเรียจากเครื่องใช้หรือเทคนิคการให้เลือดที่ไม่สะอาด
เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis) เกิดจากการให้เลือดผิดหมู่เม็ดเลือดแดงจะแตกและบางส่วนไปอุดตันหลอดเลือดฝอยของท่อไตทำให้ไตวาย
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ เกิดจากการให้เลือดติดต่อกันเป็นจ านวนมากจึงมีการสะสมของสารกันการแข็งตัวของเลือด (Acid –citrate dextrose) เพิ่มขึ้นและไปจับตัวกับแคลเซี่ยมในเลือดระดับแคลเซี่ยมจึงลดน้อยลง
ปฏิกิริยาภูมิแพ้ (Allergic reaction)เกิดจากผู้รับแพ้สารอย่างใดอย่างหนึ่งในเลือดที่ได้รับ ผู้ป่วยจะมีอาการมีผื่นคัน หรือลมพิษ
การอุดตันจากฟองอากาศ(Air embolism)เกิดจากการไล่ฟองอากาศไม่หมดไปจากสายให้เลือด อากาศจะลอยไปตามกระแสเลือด และอาจไปอุดตันหลอดเลือดดำให้ขัดขวางการนำออกซิเจนไปเลี้ยงอวัยวะส่วนนั้น
การถ่ายทอดโรค (Transfusion-associated graft versus host disease)มักเกิดจากการขาดการตรวจสอบเลือดของผู้ให้ ซึ่งมีการติดเชื้อต่าง ๆ
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ เกิดจากการให้เลือดติดต่อกันเป็นจ านวนมากจึงมีการสะสมของสารกันการแข็งตัวของเลือด (Acid –citrate dextrose) เพิ่มขึ้นและไปจับตัวกับแคลเซี่ยมในเลือดระดับแคลเซี่ยมจึงลดน้อยลง
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ (Hyperkalemia)เกิดจากการให้เลือดที่เก็บไว้ในธนาคารเลือดนานเกินไป
การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
สูตรการคำนวณอัตราหยดของสารน้ำใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย(หยด/นาที) =จำนวนSol.(มล/ชม.) xจำนวนหยดต่อมล./เวลา(นาที)
สูตรการคำนวณสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชม. = ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้จำนวน/เวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่(Central venous therapy)
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทาง Central lineทางหลอดเลือดดำใหญ่ๆ
Internal&External jugular veins
Right &Left Nominate veins
Subclavian vein
ให้ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากหรือรับประทานอาหารทางปากได้
การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง(Implantedvascular access device หรือvenousport)
เป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลวทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนังโดยที่ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดำใหญ่
Right &Left Nominateveins
Subclavian vein
ใช้ในผู้ป่วยที่จำเป็นต้องให้สารละลายทางหลอดเลือดดำเป็นระยะๆและไม่สามารถให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำส่วนปลายได้
ผู้ป่วยโรคเลือดเรื้อรังจำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัด
การให้สารน้ำาทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย(Peripheral intravenous infusion)
ผู้ป่วยที่ต้องงดอาหารและน้ำดื่มเพื่อเตรียมผ่าตัดผู้ป่วยที่จำเป็นต้องให้ยาทางหลอดเลือดดำ
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทางหลอดเลือดดำที่อยู่ในชั้นตื้นๆของผิวหนัง
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์
ให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและน้ำทางปากไม่ได้
ทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป
ข้อบ่งชี้ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
โรคของอวัยวะต่างๆ
ภาวะทางศัลยกรรม
โรคทางเดินอาหาร
ความผิดปกติของจิตใจ
โรคมะเร็งต่างๆ
ส่วนประกอบของสารอาหารในสารละลาย
โปรตีนอยู่ในรูปกรดอะมิโน ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่ต่อ 1กรัมใช้กรดอะมิโนทุกชนิดทั้งที่จ าเป็นและไม่จ าเป็นในปริมาณและสัดส่วนที่พอเหมาะ
วิตามิน ให้ทั้งชนิดละลายในน้ำ
สารละลายไขมัน (fat emulsion)ให้พลังงาน 9 กิโลแคลอรี่ต่อ 1กรัม
กลือแร่ ก่อนที่จะเริ่มให้สารอาหารควรมีการคำนวณจำนวนเกลือแร่ให้เรียบร้อยก่อนสำหรับผู้ป่วยทั่วไป
คาร์โบไฮเดรต นิยมใช้ในรูปของกลูโคส ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่ต่อ 1กรัม
น้ำาให้คำนวณจำนวนน้ำที่จะให้แก่ผู้ป่วยตามน้ำหนักตัว
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Total parenteral nutrition (TPN)
เป็นการให้โภชนบำบัดครบตามความต้องการของผู้ป่วยทั้งปริมาณพลังงานที่ต้องการ และสารอาหารทุกหมู่
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
เป็นการให้โภชนบำบัดทางหลอดเลือดดำเพียงบางส่วน อาจได้พลังงานไม่ครบตามความต้องการ หรือได้สารอาหารไม่ครบทุกหมู่ กรณีนี้ถ้าความเข้มข้นของสารอาหารไม่มาก
ตำแหน่งของการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้ทางหลอดเลือดดำแขนง (peripheral vein)
การให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่ (central vein)
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
วางแผนให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำโดยประยุกต์ใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goal
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
ระดับความรู้สึกตัว
พยาธิสภาพของโรค ประวัติเจ็บป่วย โรคของผู้ป่วย และโรคหรืออาการแทรกซ้อน
การประเมินด้านจิตใจ
ความต้องการรับบริการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ความวิตกกังวลและความกลัว
ความพร้อมของการรับบริการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสิ่งแวดล้อมผู้ป่วย
ความพร้อมใช้ของสิ่งแวดล้อมตัวผู้ป่วย
ความสะอาดของสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วยและรอบเตียง
บรรยากาศในหอผู้ป่วย และมีอากาศถ่ายเทสะดวก
การประเมินแผนการรักษา
ตรวจสอบแผนการรักษา
ตรวจสอบชนิดของสารน้ำตามแผนการรักษา ชนิด ปริมาณ อัตรา และเวลา
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
วิธีการฉีดยาแบบที่ 2 IV plug กับ syringe IVpush
วิธีการฉีดยา
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
มือขวาหยิบ syringe 0.9 % NSS ถอดปลอกเข็มวางบนถาด ไล่อากาศออกให้หมด
มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวาจับ syringe 0.9 % NSS แทงเข็มตรงจุกยางของ IV plug ดึง plunger ดูว่ามีเลือดออกตามมาหรือไม่? ถ้ามีเลือดออกมาแสดงว่าIV catheter ยังแทงอยู่ในหลอดเลือดดำ
ถอดปลอกเข็มของ syringe ไล่อากาศออกให้หมด มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวาจับsyringe แทงเข็มตรงจุดยางของ IV plug มือขวาดัน plunger ฉีดยาช้า ๆ จนยาหมด
มือขวาดึงsyringe ออก ปิดปลอกเข็มด้วยมือข้างเดียว มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug ด้วยสำลีชุแอลกอฮอล์ 70%มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวาจับ syringe 0.9 % NSS แทงเข็มตรงจุดยางของ IV plug มือซ้ายเลื่อนลงมาจับที่หัวเข็ม มือขวาดันplunger ฉีด 0.9 % NSS 3 ml จนหมด มือซ้ายเลื่อนไปจับ IV plug มือขวาดึง syringe ออกเก็บปลอกเข็มใช้มือข้างเดียว
วิธีการฉีดยาแบบที่ 1 IV plugกับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยา
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug ด้วยส าลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
แขวน piggy back กับเสาน้ำเกลือ มือขวาหยิบ syringe 0.9 % NSS 3 mlถอดปลอกเข็มวางลงบนถาด แล้วไล่อากาศออกให้หมด
มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวาจับ syringe 0.9 % NSS แทงเข็มตรง จุกยางของ IV plug ดึง plunger ดูว่ามีเลือดออกตามมาหรือไม่? ถ้ามีเลือดออกมาแสดงว่า IV catheter อยู่ในตำแหน่งของหลอดเลือดดำ
เมื่อยาฉีดหมด ปิด clamp มือขวาดึงเข็มออก ปิดปลอกเข็มด้วยมือข้างเดียวมือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug ด้วยสำลีชุแอลกอฮอล์ 70% มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวาจับ syringe 0.9 % NSS แทงเข็มตรงจุดยางของ IV plug มือซ้ายเลื่อนลงมาจับที่หัวเข็ม มือขวาดัน plunger ฉีด 0.9 % NSS 3 ml จนหมด มือซ้ายเลื่อนไปจับ IV plug มือขวาดึง syringe ออก เก็บปลอกเข็มด้วยมือข้างเดียว
ถอดปลอกเข็มของ IV set ไล่อากาศออกให้หมด มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อยมือขวาจับแทงเข็มตรงจุดยางของ IV plugเปิด clamp ปรับหยดยา 50 หยด/นาที (คำนวณหยดของยาฉีด 100 ml ให้หมดใน 30 นาที)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 3 Surg plug กับ piggy back (100ml)
วิธีการฉีดยา
ขวน piggy back กับ เสาน้ำเกลือ ปลดเข็มออกวางลงบนถาด เปิด clamp ให้น้ำยาไหลลงมาตาม set IV จนน้ ายาเต็มสายยาง ปิดclamp
มือซ้ายจับ surg plugปลดเข็มออกจาก set IV ไล่อากาศออกให้หมด
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด surg plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
เช็ด surg plug ด้วยส าลีชุบแอลกอฮอล์ 70% สวมปลาย set IV เข้ากับ surg plug เปิด clamp ปรับหยดยา 50 หยอด/นาที (ค านวณหยดยาฉีด 100ml ให้หมดใน 30 นาที)
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ surg plug มือขวาเช็ด surg plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% ดึง set IV ออก เช็ด surg plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% อีกครั้ง
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
วิธีการฉีดยาแบบที่ 5 three ways กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยา
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาดthree ways ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
แขวน piggy back กับ เสาน้ำเกลือปลดเข็มออกวางลงบนถาด เปิด clamp ให้น้ำยาไหลลงมาตาม set IV จนน้ ายาเต็มสายยาง ปิดclamp
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
มือซ้ายจับthree ways มือขวาหมุน ข้อต่อ three ways (ลูกศรชี้ไปทิศใดแสดงว่าเปิดวาวส์ช่องทางนั้น) ปลดเข็มออกจาก set IV ไล่อากาศออกให้หมด
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
เช็ด three ways ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% สวมปลาย set IV เข้ากับthree ways หมุนให้แน่น เปิด clamp ปรับหยดยา 50 หยด/นาที (คำนวณหยดของยาฉีด 100 ml ให้หมดใน 30 นาที)
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ three ways มือขวาเช็ด three ways ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% แล้วปรับข้อต่อ three ways ปิดด้านที่ฉีดยา
วิธีการฉีดยาแบบที่ 6 three ways กับsyringe IV push
วิธีการฉีดยา
มือซ้ายจับ three ways มือขวาหมุน ข้อต่อ three ways (ลูกศรชี้ไปทิศใดแสดงว่าเปิดวาวส์ช่องทางนั้น) ปลดเข็มออกจาก set IV ไล่อากาศออกให้หมด
ปลดเข็มออกจาก syringe ไล่อากาศออกให้หมด
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด three ways ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
เช็ด three ways ด้วยส าลีชุบแอลกอฮอล์ 70% สวมปลายtrip ของ syringe เข้ากับ three ways หมุนให้แน่น มือขวาดึง plunger สังเกตเลือดออกมาหรือไม่ ? (ถ้ามีเลือดออกมาแสดงว่า IV catheter) อยู่ในตำแหน่งของหลอดเลือดด ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำช้า ๆ จนยาหมด syringe
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ three ways มือขวาเช็ด three ways ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% แล้วปรับข้อต่อ three ways ปิดด้าน side ที่ฉีดยา
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
วิธีการฉีดยาแบบที่ 4 Surg plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยา
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด surg plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
มือซ้ายจับ surg plug ปลดเข็มออกจากsyringe ไล่อากาศออกให้หมด
สวมปลาย tip ของ syringe เข้ากับ surg plug หมุนให้แน่น มือขวาดึง plunger สังเกตเลือดออกมาหรือไม่ ? (ถ้ามีเลือดออกมาแสดงว่า IV catheter ) อยู่ในตำแหน่งของหลอดเลือดดำ ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำช้า ๆ จนยาหมด syringe
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ surg plug มือขวาดึง syringe ออกเช็ด surg plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% อีกครั้ง
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน เพื่อน ามาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ(โดยนักศึกษาทบทวนบทเรียนตามขั้นตอนการบริหารยาฉีด)
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม่ (โดยการตรวจสอบความครบถ้วนของใช้การจัดเก็บของเข้าที่เดิมและเตรียมพร้อมใช้งานครั้งต่อไป)
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
ประเมินคุณภาพของการปฏิบัติงานในข้อ2 อยู่ในคุณภาพระดับใด(โดยการให้คะแนนระดับดีมาก-ดี-ปานกลาง-ปรับปรุง)
ประเมินคุณภาพของการให้บริการข้อ3 อยู่ในคุณภาพระดับใด(โดยการให้คะแนนระดับดีมาก-ดี-ปานกลาง-ปรับปรุง)
การประเมินผลการบริหารยาฉีดเป็นการประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย (โดยการสอบถามผู้ป่วย)
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วยและจัดท่านอนให้สุขสบายและเหมาะสม (โดยการสอบถามผู้ป่วย)
ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของผู้ป่วยและปลอดภัยตามหลักการ 6 RightsและหลักความปลอดภัยSIMPLE ของ patient safety goal
ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย(โดยการสอบถามผู้ป่วย)
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การให้และการรับเลือดในหมู่เลือด
คนเลือดกรุ๊ป Rh-veต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น แต่ต้องดูกรุ๊ปเลือดตามระบบ ABOด้วย
คนเลือดกรุ๊ป Aรับได้จาก AและOให้ได้กับ AและAB
คนเลือดกรุ๊ป ABรับได้จากทุกกรุ๊ป แต่ให้เลือดแก่ผู้อื่นได้เฉพาะคนที่เป็นเลือดกรุ๊ป AB
คนเลือดกรุ๊ป Bรับได้จาก BและOให้ได้กับ BและAB
คนเลือดกรุ๊ป Oรับได้จาก Oเท่านั้น แต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้เลือดและสารประกอบของเลือดตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
วางแผนให้ผู้ป่วยได้รับเลือดและสารประกอบของเลือดโดยประยุกต์ใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
ระดับความรู้สึกตัว
พยาธิสภาพของโรค ประวัติเจ็บป่วย โรคของผู้ป่วย และโรคหรืออาการแทรกซ้อน
การประเมินด้านจิตใจ
ความต้องการรับบริการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ความวิตกกังวลและความกลัว
ความพร้อมของการรับบริการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสิ่งแวดล้อมผู้ป่วย
ความพร้อมใช้ของสิ่งแวดล้อมตัวผู้ป่วย
ความสะอาดของสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วยและรอบเตียง
บรรยากาศในหอผู้ป่วย และมีอากาศถ่ายเทสะดวก
การประเมินแผนการรักษา
ตรวจสอบแผนการรักษา และประวัติการรับเลือด (มีอาการแพ้หรือไม่?)
ตรวจสอบชนิดของเลือดและส่วนประกอบของเลือดตามแผนการรักษา ชนิด ปริมาณ อัตรา และเวลา
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
การประเมินผลการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด เป็นการประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย (โดยการสอบถามผู้ป่วย)
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วยและจัดท่านอนให้สุขสบายและเหมาะสม (โดยการสอบถามผู้ป่วย)
ติดตามประเมินสัญญาณชีพก่อน ขณะ และหลังการได้รับเลือดฯ
ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วย(โดยการสอบถามผู้ป่วย)
ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของผู้ป่วยและปลอดภัยตามหลักการ 6 RightsและหลักความปลอดภัยSIMPLE ของ patient safety goals
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน เพื่อน ามาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม่
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
ระเมินคุณภาพของการปฏิบัติงานในข้อ2 อยู่ในคุณภาพระดับใด(โดยการให้คะแนนระดับดีมาก-ดี-ปานกลาง-ปรับปรุง)
ประเมินคุณภาพของการให้บริการข้อ3 อยู่ในคุณภาพระดับใด(โดยการให้คะแนนระดับดีมาก-ดี-ปานกลาง-ปรับปรุง)
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้ำ
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก
สายให้สารน้ำ มีความยาวมาก
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดด
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด แน่นหรือตึงเกินไป
ความหนืดของสารน้ำ
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย อาจทำให้เข็มเคลื่อนที่
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น หรือญาติผู้ป่วยหมุนปรับเอง
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
อุปกรณ์เครื่องใช้
เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย(Peripheral insertion devices)
อุปกรณ์อื่นๆ
ยางรัดแขน (Tourniquet)
เสาแขวนขวดให้สารน้ำ
แผ่นโปร่งใสปิดตำแหน่งที่แทงเข็ม (Transparent dressing)
ก๊อซปลอดเชื้อ
ไม้รองแขน
พลาสเตอร์
สำลีปลอดเชื้อ70%Alcohol
ถุงมือสะอาด
ชุดให้สารน้ำ (IV Administration set)
ขวดสารน้ำโดยขวดสารน้ำ/ยา
อุปกรณ์เสริมกรณีจำเป็น
ที่ต่อ 3ทาง
สายต่อขยาย (Extension tube)
การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อนเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถใช้แขนข้างที่ถนัดทำกิจวัตรต่างๆได้ด้วยตนเอง
ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม เช่น ไม่มีบาดแผล
เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อนเพื่อให้หลอดเลือดดำส่วนที่ถัดเข้ามาสามารถใช้งานได้อีก
ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขาให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่างๆเพราะจะทำให้หลอดเลือดแตกทะลุง่าย
คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดำ
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด (Embolism) ที่พบบ่อยจะเป็นก้อนเลือด (thromboembolism) และอากาศ (air embolism)
การให้สารอาหารมากเกินไป (Circulatory overload) พบได้ง่ายในผู้ป่วยเด็ก ผู้ที่มีปัญหาของระบบไหลเวียนเลือด และไต
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง (Local infiltration) เกิดขึ้นเมื่อเข็มเคลื่อนออกจากหลอดเลือด พบได้บ่อยในหลอดเลือดที่เล็ก บาง หรือผู้ป่วยที่มีกิจกรรมมากๆ
ไข้(pyrogenic reactions) เกิดจากมีสารแปลกปลอมซึ่งเป็นส่วนประกอบของโปรตีนเข้าสู่กระแสเลือด