Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติที่ เกี่ยวข้องกับสวัสดิภาพ และสุขภาพ ของประชาชน - Coggle…
พระราชบัญญัติที่ เกี่ยวข้องกับสวัสดิภาพ และสุขภาพ ของประชาชน
พรบ.สถานพยาบาล พ.ศ. 2541
หมวด 3 พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา 47
ในการปฏิบัติหน้าที่พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจําตัว
มาตรา 48
ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ให้ผู้อนุญาตและพนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 46
อำนาจหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่
เข้าไปในสถานพยาบาลในระหว่างเวลาทําการเพื่อตรวจสอบและควบคุมให้การเป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้
มีหนังสือเรียกผู้รับอนุญาตผู้ดําเนินการผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลหรือเจ้าหน้าที่ของสถานพยาบาลมาให้ถ้อยคําหรือชี้แจงหรือให้ส่งเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องมาเพื่อประกอบการพิจารณา
เข้าไปในอาคารสถานที่หรือยานพาหนะที่พนักงานเจ้าหน้าที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นสถานพยาบาลที่ไม่ได้รับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้
ยึดหรืออายัดบรรดาเอกสารหรือสิ่งของที่เกี่ยวกับการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้เพื่อเป็นหลักฐานในการดําเนินคด
หมวด 4 การปิดสถานพยาบาลและการเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา 51
ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม ให้ดําเนินการให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่ผู้อนุญาตกําหนดตาม
มาตรา 52
การคุ้มครองดูแลผู้ป่วยในสถานพยาบาล
ผู้รับอนุญาตตายและไม่มีผู้แสดงความจํานงเพื่อขอประกอบกิจการหรือผู้แสดงความจํานงนั้นขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม
ผู้อนุญาตมีคําสั่งปิดสถานพยาบาลเป็นการชั่วคราวมีคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา 50
ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการกระทําการหรือละเว้นกระทําการอย่างใดๆจนเป็นเหตุให้เกิดอันตราย ผู้อนุญาตมีอํานาจออกคําสั่งปิดสถานพยาบาลเป็นการชั่วคราวจนกว่าจะได้ดําเนินการให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่กําหนด
มาตรา 53
คําสั่งของพนักงานเจ้าหน้าทหรือของผู้อนุญาตให้ทําเป็นหนังสือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนให้ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการณภูมิลําเนาของผู้นั้น
มาตรา 49
ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการปฏิบัติไม่ถูกต้องตามพระราชบัญญัตินี้ พนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจสั่งให้ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการแล้วแต่กรณีระงับหรือปฏิบัติให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่เห็นสมควร
มาตรา 54
ผู้ใดถูกเพิกถอนใบอนุญาตแล้วจะขอรับใบอนุญาตใหม่อีกไม่ได้จนกว่าจะพ้นกําหนดสองปีนับแต่วันที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา 55
คําสั่งของพนักงานเจ้าหน้าทหรือของผู้อนุญาต ผู้ที่ได้รับคําสั่งมีสิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ทราบคําสั่
หมวด 2 การประกอบกิจการสถานพยาบาลและการดําเนินการสถานพยาบาล
มาตรา 29
ถ้าผู้อนุญาตไม่ออกใบอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ต่ออายุใบอนุญาตผู้ขอรับใบอนุญาตหรือผู้ขอต่ออายุใบอนุญาตแล้วแต่กรณีมีสิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งการไม่ออกใบอนุญาตหรือการไม่อนุญาตให้ต่ออายุใบอนุญาต
มาตรา 30
ในกรณีที่ใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทําลายในสาระสําคัญให้ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการแล้วแต่กรณีแจ้งต่อผู้อนุญาตและยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับทราบการสูญหายหรือถูกทําลาย
มาตรา 28
ใบอนุญาตให้ดําเนินการสถานพยาบาลให้ใช้ได้จนถึงวันสิ้นปีปฏิทินของปีที่สองนับแต่ปีที่ออกใบอนุญาต
มาตรา 31
ผู้รับอนุญาตต้องแสดงใบอนุญาตไว้ในที่เปิดเผยและเห็นได้ง่าย ณ สถานพยาบาลนั้น
มาตรา 27
ผู้รับอนุญาตผู้ดําเนินการและผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลแห่งหนึ่งๆจะเป็นบุคคลคนเดียวกันก็ได้
มาตรา 32
ผู้รับอนุญาตต้องแสดงรายละเอียดดังต่อไปนี้
รายการเกี่ยวกับผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล
อัตราค่ารักษาพยาบาลค่ายาและเวชภัณฑ์ค่าบริการทางการแพทย์ค่าบริการอื่นและสิทธิของผู้ป่วยที่สถานพยาบาล
ชื่อสถานพยาบาล
มาตรา 26
ถ้าผู้ดําเนินการพ้นจากหน้าที่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้เกินเจ็ดวันให้ผู้รับอนุญาตอาจมอบหมายดําเนินการแทนได้ไม่เกินเก้าสิบวัน
มาตรา 34
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ดําเนินการ
ควบคุมและดูแลให้ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพของตน
ควบคุมและดูแลมิให้มีการรับผู้ป่วยไว้ค้างคืนเกินจํานวนเตียงตามที่กําหนดไว้ในใบอนุญาตเว้นแต่กรณีฉุกเฉินซึ่งหากไม่รับไว้อาจเกิดอันตรายแก่ผู้ป่วย
ควบคุมและดูแลมิให้ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลประกอบวิชาชีพผิดไป
ควบคุมและดูแลสถานพยาบาลให้สะอาดเรียบร้อยปลอดภัยและมีลักษณะอันเหมาะสมแก่การใช้เป็นสถานพยาบาล
มาตรา 25
การพิจารณาออกใบอนุญาตให้ดําเนินการสถานพยาบาลของผู้อนุญาตจะต้องปรากฏว่าผู้ขอรับใบอนุญาต
มาตรา 33
รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจประกาศกําหนดชนิดหรือประเภทของการรักษาพยาบาลยาและเวชภัณฑ์การบริการทางการแพทย์หรือการบริการอื่นของสถานพยาบาลและสิทธิของผู้ป่วย
มาตรา 24
ห้ามมิให้บุคคลใดดําเนินการสถานพยาบาลเว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา 35
ให้ผู้รับอนุญาตและผู้ดําเนินการมีหน้าที่และความรับผิดชอบร่วมกัน
มาตรา 23
ผู้รับอนุญาตต้องจัดให้มีผู้ดําเนินการคนหนึ่งเป็นผู้มีหน้าที่ควบคุมดูแลและรับผิดชอบในการดําเนินการสถานพยาบาล
มาตรา 36
ผู้รับอนุญาตและผู้ดําเนินการของสถานพยาบาลต้องควบคุมและดูแลให้มีการช่วยเหลือเยียวยาแก่ผู้ป่วย
มาตรา 22
ถ้าผู้รับอนุญาตตายและมีบุคคลแสดงความจํานงต่อผู้อนุญาตภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ผู้รับอนุญาตตาย
มาตรา 37
ผู้รับอนุญาตและผู้ดําเนินการต้องควบคุมดูแลมิให้มีการใช้หรือยินยอมให้ผู้อื่นใช้สถานพยาบาลประกอบกิจการสถานพยาบาลผิดประเภทหรือผิดลักษณะการให้บริการตามที่ระบุไว้ในใบอนุญาต
มาตรา 21
การโอนใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลให้แก่บุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามให้กระทําได
มาตรา 38
ผู้ใดประสงค์จะโฆษณาหรือประกาศด้วยประการใดๆเกี่ยวกับการประกอบกิจการของสถานพยาบาล ต้องได้รับอนุมัติข้อความเสียงหรือภาพที่ใช้ในการโฆษณาหรือประกาศจากผู้อนุญาต
มาตรา 20
ผู้รับอนุญาตต้องชําระค่าธรรมเนียมตามหลักเกณฑ์
มาตรา 39
ในกรณีที่มีการโฆษณาหรือประกาศฝ่าฝืนมาตรา๓๘ผู้อนุญาตมีอํานาจสั่งเป็นหนังสือให้ผู้โฆษณาหรือประกาศระงับการกระทําดังกล่าวได้
มาตรา 19
ใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลให้ใช้ได้จนถึงวันสิ้นปีปฏิทินของปีที่สิบนับแต่ปีที่ออกใบอนุญาต
การขอต่ออายุใบอนุญาตให้ยื่นคําขอก่อนใบอนุญาตสิ้นอาย
มาตรา 40
ผู้รับอนุญาตประสงค์จะเปลี่ยนแปลงการประกอบกิจการของสถานพยาบาลให้แตกต่างไปจากที่ระบุไว้ในใบอนุญาตกระทําได้เมื่อได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา 18
การพิจารณาออกใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล
มีเครื่องมือเครื่องใช้เวชภัณฑ์หรือยานพาหนะที่จําเป็นประจําสถานพยาบาลนั้นตามชนิดและจํานวนที่กําหนดในกฎกระทรวง
มีผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลตามวิชาชีพและจํานวนที่กําหนดในกฎกระทรวง
มีสถานพยาบาลตามลักษณะที่กําหนดในกฎกระทรวง
ชื่อสถานพยาบาลต้องเป็นไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
มีแผนงานการจัดตั้งสถานพยาบาลที่ได้รับอนุมัติแล้ว
มาตรา 41
ในกรณีที่ผู้รับอนุญาตประสงค์จะย้ายสถานพยาบาลไปประกอบกิจการที่อื่นให้ดําเนินการเสมือนเป็นผู้ขออนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาลใหม
มาตรา 17
คุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล
มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย
ไม่เคยได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษา
มีอายุไม่ต่ํากว่ายี่สิบปีบริบูรณ์
ไม่เป็นโรคตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดในราชกิจจานุเบกษา
ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
ไม่เป็นบุคคลวิกลจริตคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
มาตรา 42
เมื่อมีการเปลี่ยนตัวผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลผู้รับอนุญาตต้องแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้อนุญาตทราบภายในกําหนดสามสิบวันนับแต่วันที่มีการเปลี่ยนนั้น
มาตรา 16
ห้ามมิให้บุคคลใดประกอบกิจการสถานพยาบาลเว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา 43
การเปลี่ยนชื่อสถานพยาบาลต้องได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา 15
ให้รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจประกาศกําหนดมาตรฐานการบริการของสถานพยาบาล
มาตรา 44
ผู้รับอนุญาตผู้ใดประสงค์จะเลิกกิจการสถานพยาบาลต้องแจ้งเป็นหนังสือและจัดทํารายงานที่จะปฏิบัติเกี่ยวกับผู้ป่วยให้ผู้อนุญาตทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสิบห้าวัน
มาตรา 14
ประเภทของสถานพยาบาล
สถานพยาบาลประเภทที่ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน
สถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน
มาตรา 45
ให้ผู้อนุญาตจัดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจลักษณะของสถานพยาบาลและการประกอบกิจการของสถานพยาบาลให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้โดยสม่ําเสมอ
หมวด 5 บทกําหนดโทษ
มาตรา 65
ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา๓๔(๒) หรือมาตรา๓๕ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา 66
ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา๓๖ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา 64
ผู้ดําเนินการผู้ใดไม่ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามมาตรา๓๔ (๓) หรือ (๔) ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา 67
ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา๓๗ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา 63
ผู้ดําเนินการผู้ใดไม่ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามมาตรา๓๔ (๑) ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา 68
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา๓๘วรรคหนึ่งต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา 62
ผู้รับอนุญาตผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา๓๓วรรคสองต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา 69
ผู้รับอนุญาตผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของผู้อนุญาตตามมาตรา๔๔วรรคสองต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา 61
ผู้ใดมีหน้าที่ต้องแจ้งให้ผู้อนุญาตทราบแต่ไม่แจ้งภายในกําหนดเวลาตามมาตรา๒๖มาตรา๓๐มาตรา๔๒หรือมาตรา๔๔วรรคหนึ่งต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา 70
ผู้รับอนุญาตผู้ดําเนินการผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลเจ้าหน้าที่ของสถานพยาบาลหรือบุคคลซึ่งอยู่ในสถานพยาบาลผู้ใดไม่อํานวยความสะดวกให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ตามมาตรา๔๖ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท
มาตรา 60
ผู้รับอนุญาตผู้ใดประกอบกิจการสถานพยาบาลโดยมิได้จัดให้มีผู้ดําเนินการตามมาตรา๒๓ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา 71
ผู้ใดประกอบกิจการสถานพยาบาลในระหว่างที่สถานพยาบาลนั้นถูกสั่งปิดชั่วคราวตามมาตรา๕๐ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับและให้ปรับอีกวันละไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืน
มาตรา 59
ผู้รับอนุญาตผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา๒๑มาตรา๓๑มาตรา๓๒มาตรา๔๐หรือมาตรา๔๓ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา 72
ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อํานวยความสะดวกให้แก่คณะกรรมการในการดําเนินการตามมาตรา๕๒ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินสองพันบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา 58
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของผู้อนุญาตตามมาตรา๓๙หรือมาตรา๔๕หรือคําสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา๔๙ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา 73
ผู้รับอนุญาตผู้ดําเนินการผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลหรือเจ้าหน้าที่ของสถานพยาบาลผู้ใดจัดทําหรือยินยอมให้ผู้อื่นจัดทําหลักฐานเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลและค่าบริการเอกสารแสดงการตรวจโรคเอกสารแสดงผลการรักษาพยาบาลของสถานพยาบาลหรือเอกสารกรณีอื่นอันเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลอันเป็นเท็จต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา 57
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา๑๖วรรคหนึ่งหรือมาตรา๒๔วรรคหนึ่งต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับและศาลจะสั่งริบบรรดาสิ่งของที่ใช้ในการประกอบกิจการสถานพยาบาลด้วยก็ได
มาตรา 74
ในกรณีที่ผู้กระทําความผิดเป็นนิติบุคคลถ้าการกระทําความผิดของนิติบุคคลนั้นเกิดจากการสั่งการหรือการกระทําของกรรมการหรือผู้จัดการหรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการดําเนินงานของนิติบุคคลนั้นหรือในกรณีที่บุคคลดังกล่าวมีหน้าที่ต้องสั่งการหรือกระทําการและละเว้นไม่สั่งการหรือไม่กระทําการจนเป็นเหตุให้นิติบุคคลนั้นกระทําความผิดผู้นั้นต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้สําหรับความผิดนั้นๆด้วย
มาตรา 56
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินสองพันบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา 75
ให้มีคณะกรรมการเปรียบเทียบคดี
หมวด 1 คณะกรรมการสถานพยาบาล
มาตรา 10
การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด
มาตรา 9
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นตำแหน่งเมื่อ
เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
พ้นจากการเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะผู้ประกอบวิชาชีพผู้ดําเนินการในกรณีที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นกรรมการในฐานะนั้น
รัฐมนตรีให้ออก
ได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาหรือคําสั่งที่ชอบด้วยกฎหมายถึงที่สุดให้จําคุกเว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิดที่ได้กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
ลาออก
ตาย
มาตรา 11
คณะกรรมการมีหน้าที่ให้คําปรึกษาให้ความเห็นและให้คําแนะนําแก่รัฐมนตรีหรือผู้อนุญาต
มาตรา 8
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละ 3 ปีกรรมการซึ่งพ้นจากตําแหน่งตามวาระอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แต่จะดํารงตําแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระมิได
มาตรา 12
คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ
มาตรา 7
คณะกรรมการสถานพยาบาล ประกอบด้วย
ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธานกรรมการ
อธิบดีหรือหัวหน้าส่วนราชการ
ผู้แทนกระทรวงกลาโหม
ผู้แทนกระทรวงมหาดไทย
ผู้แทนสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ผู้แทนสํานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
ผู้แทนสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
มาตรา 13
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการที่แต่งตั้งขึ้นมีอํานาจออกคําสั่งเป็นหนังสือเรียกให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดมาให้ถ้อยคําหรือให้ส่งเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องหรือสิ่งใดมาเพื่อประกอบการพิจารณาได
พรบ. โรคติดต่อ พ.ศ. 2558
หมวด 5 การเฝ้าระวังโรคติดต่อ
มาตรา 32
เมื่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อได้รับแจ้งต้องควบคุมโรคติดต่อแจ้งคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดหรือคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานครแล้วแต่กรณีและรายงานข้อมูลนั้นให้กรมควบคุมโรคทราบโดยเร็ว
มาตรา 33
ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยว่ามีโรคติดต่ออันตรายโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังหรือโรคระบาดเกิดขึ้นในต่างประเทศให้กรมควบคุมโรคประสานงานไปยังองค์การอนามัยโลก
มาตรา 31
ในกรณีที่มีโรคติดต่ออันตรายโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังหรือโรคระบาดเกิดขึ้นให้บุคคลดังต่อไปนี้แจ้งต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
หมวด 6 การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
มาตรา 38
เมื่อมีเหตุอันสมควรให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจําด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศมีอํานาจตรวจตราควบคุมกํากับดูแลในพื้นที่นอกช่องทางเข้าออกและแจ้งให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นดําเนินการกําจัดยุงและพาหะนําโรคในบริเวณรัศมีสี่ร้อยเมตรรอบช่องทางเข้าออก
มาตรา 39
เมื่อมีเหตุอันสมควรหรือมีเหตุสงสัยว่าพาหนะนั้นมาจากท้องที่หรือเมืองท่าใดนอกราชอาณาจักรที่มีโรคระบาดให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจําด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศมีอํานาจหน้าที่
มาตรา 37
ให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบช่องทางเข้าออกปฏิบัติตามวิธีการเพื่อการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศในบริเวณช่องทางเข้าออก
มาตรา 40
เมื่อรัฐมนตรีประกาศให้ท้องที่หรือเมืองท่าใดนอกราชอาณาจักรเป็นเขตติดโรคให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจําด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศมีอํานาจดําเนินการเองหรือออกคําสั่งเป็นหนังสือให้เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะที่เข้ามาในราชอาณาจักรจากท้องที่หรือเมืองท่านั้
มาตรา 36
ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อขึ้นในทุกอําเภอหรือทุกเขตอย่างน้อยหนึ่งหน่วย
มาตรา 41
ให้เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายในการขนส่งผู้เดินทางซึ่งมากับพาหนะนั้น
มาตรา 35
ในกรณีที่มีเหตุจําเป็นเร่งด่วนเพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ของโรคติดต่ออันตรายให้ผู้ว่าราชการจังหวัด
สั่งให้ผู้ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดหยุดการประกอบอาชีพเป็นการชั่วคราว
สั่งห้ามผู้ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดเข้าไปในสถานที่ชุมนุมชน
สั่งปิดตลาดสถานที่ประกอบหรือจําหน่ายอาหารสถานที่ผลิตหรือจําหน่ายเครื่องดื่มโรงงานสถานที่ชุมนุมชนโรงมหรสพสถานศึกษาหรือสถานที่อื่นใดไว้เป็นการชั่วคราว
มาตรา 42
ในกรณีที่พบว่าผู้เดินทางเป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตรายโรคระบาด
ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจําด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศมีอํานาจสั่งให้บุคคลดังกล่าวถูกแยกกักกักกันคุมไว้สังเกตหรือได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
มาตรา 34
เมื่อเกิดโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดหรือมีเหตุสงสัยว่าได้เกิดโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดในเขตพื้นที่ใดให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่นั้นมีอํานาจที่จะดําเนินการเองหรือออกคําสั่งเป็นหนังสือให้ผู้ใดดําเนินการ
มาตรา 43
ให้อธิบดีหรือผู้ที่อธิบดีมอบหมายมีอํานาจออกหนังสือรับรองการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคหรือการได้รับยาป้องกันโรคติดต่อระหว่างประเทศหรือหนังสือรับรองอื่นๆให้แก่ผู้ร้องขอโดยผู้ร้องขอเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่าย
มาตรา 44
ในกรณีที่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อได้ออกคําสั่งให้ผู้ใดดําเนินการแล้วผู้นั้นละเลยไม่ดําเนินการตามคําสั่งภายในเวลาที่กําหนด
ให้ผู้นั้นชดใช้ค่าใช้จ่ายในการดําเนินการนั้นตามจํานวนที่จ่ายจริง
หมวด 4 คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร
มาตรา 28
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร
จัดทําแผนปฏิบัติการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออันตรายโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังหรือโรคระบาดในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร
รายงานสถานการณ์โรคติดต่อหรือโรคที่ยังไม่ทราบสาเหตุที่อาจเป็นโรคระบาดซึ่งเกิดขึ้นในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครต่ออธิบดี
ดําเนินการตามนโยบายระบบและแนวทางปฏิบัติในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่คณะกรรมการกําหนด
สนับสนุนส่งเสริมติดตามและประเมินผลการปฏิบัติของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในกรุงเทพมหานครแล้วรายงานต่อคณะกรรมการ
แต่งตั้งคณะทํางานประจําช่องทางเข้าออกตามมาตรา๒๓
เรียกให้บุคคลใดๆมาให้ข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นหรือให้จัดส่งข้อมูลหรือเอกสารใดๆที่จําเป็นหรือข้อคิดเห็นมาเพื่อใช้ประกอบการพิจารณา
ดําเนินการอื่นใดที่เกี่ยวกับการควบคุมโรคติดต่อตามที่คณะกรรมการหรือผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมอบหมายหรือตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติ
มาตรา 29
ให้นําความในมาตรา๑๕มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานครและคณะทํางานประจําช่องทางเข้าออกโดยอนุโลม
มาตรา 27
การแต่งตั้งวาระการดํารงตําแหน่งและการพ้นจากตําแหน่งของกรรมการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศกําหนด
มาตรา 30
ให้นําความในมาตรา๒๓และมาตรา๒๔มาใช้บังคับแก่องค์ประกอบและอํานาจหน้าที่ของคณะทํางานประจําช่องทางเข้าออกที่คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานครแต่งตั้งโดยอนุโลม
มาตรา 26
องค์ประกอบของีคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร
หมวด 7 เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
มาตรา 46
ให้มีเครื่องแบบเครื่องหมายและบัตรประจําตัวสําหรับเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อเพื่อแสดงตัวขณะปฏิบัติหน้าที่ต่อบุคคลที่เกี่ยวข้อง
มาตรา 47
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 45
อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
หมวด 3 คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
มาตรา 22
อำนาจหน้าที่ของ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
ดําเนินการตามนโยบายระบบและแนวทางปฏิบัติในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่คณะกรรมการกําหนด
จัดทําแผนปฏิบัติการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออันตรายโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังหรือโรคระบาดในเขตพื้นที่จังหวัด
รายงานสถานการณ์โรคติดต่อหรือโรคที่ยังไม่ทราบสาเหตุที่อาจเป็นโรคระบาดซึ่งเกิดขึ้นในเขตพื้นที่จังหวัดต่ออธิบด
สนับสนุนส่งเสริมติดตามและประเมินผลการปฏิบัติของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในจังหวัดแล้วรายงานต่อคณะกรรมการ
แต่งตั้งคณะทํางานประจําช่องทางเข้าออกตามมาตรา๒๓ในกรณีที่จังหวัดนั้นมีด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
เรียกให้บุคคลใดๆมาให้ข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นหรือให้จัดส่งข้อมูลหรือเอกสารใดๆที่จําเป็นหรือข้อคิดเห็นมาเพื่อใช้ประกอบการพิจารณา
ดําเนินการอื่นใดที่เกี่ยวกับการควบคุมโรคติดต่อตามที่คณะกรรมการหรือผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมายหรือตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 23
องค์ประกอบของคณะทํางานประจําช่องทางเข้าออก
มาตรา 21
การแต่งตั้งวาระการดํารงตําแหน่งและการพ้นจากตําแหน่งของกรรมการ และกรรมการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศกําหนด
มาตรา 24
ให้คณะทํางานประจําช่องทางเข้าออกมีอํานาจหน้าที่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
มาตรา 20
องค์ประกอบของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
มาตรา 25
ให้นําความในมาตรา๑๕มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดและคณะทํางานประจําช่องทางเข้าออกโดยอนุโลม
หมวด 8 ค่าทดแทน
มาตรา 48
ในการดําเนินการของเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อตามพระราชบัญญัตินี้หากเกิดความเสียหายแก่บุคคลหรือทรัพย์สินของบุคคลใดจากการเฝ้าระวังการป้องกันหรือการควบคุมโรคให้ทางราชการชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นให้แก่ผู้นั้นตามความจําเป็นการชดเชยความเสียหาย
หมวด 2 คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
มาตรา 15
การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
มาตรา 16
ให้มีคณะกรรมการด้านวิชาการคณะหนึ่งประกอบด้วยประธานกรรมการซึ่งแต่งตั้งจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและ ีกรรมการซึ่งแต่งตั้งจากผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ด้านโรคติดต่ออีกจํานวนไม่เกินเจ็ดคน
มาตรา 14
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ
พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อหรือโรคระบาด
เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวงระเบียบประกาศและแนวทางปฏิบัติเพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
กําหนดนโยบายวางระบบและแนวทางปฏิบัติในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
ให้คําปรึกษาแนะนําและประสานงานแก่หน่วยงานของรัฐและเอกชนเกี่ยวกับการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
ติดตามประเมินผลและตรวจสอบการดําเนินงานของหน่วยงานของรัฐ
พิจารณาให้ความเห็นชอบหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการเบิกจ่ายค่าชดเชยค่าทดแทนค่าตอบแทนหรือค่าใช้จ่ายอื่นที่จําเป็นในการดําเนินการเฝ้าระวัง
แต่งตั้งคณะกรรมการด้านวิชาการหรือคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน
ปฏิบัติการอื่นใดตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติให้เป็นอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการหรือตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
มาตรา 17
ให้นําความในมาตรา๑๕มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะกรรมการด้านวิชาการและคณะอนุกรรมการโดยอนุโลม
มาตรา 13
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งเมื่อ
รัฐมนตรีให้ออกเพราะมีพฤติกรรมเสื่อมเสียบกพร่องหรือไม่สุจริตต่อหน้าที่หรือหย่อนความสามารถ
เป็นบุคคลล้มละลาย
ลาออก
เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
ตาย
ได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุกเว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิดที่ได้กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
มาตรา 18
ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้คณะกรรมการคณะกรรมการด้านวิชาการและคณะอนุกรรมการมีอํานาจออกคําสั่งเป็นหนังสือเรียกให้บุคคลใดๆมาให้ข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นหรือให้จัดส่งข้อมูลหรือเอกสารใดๆที่จําเป็นหรือข้อคิดเห็นมาเพื่อใช้ประกอบการพิจารณาได้
มาตรา 12
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสามปี
มาตรา 19
ให้กรมควบคุมโรคเป็นสํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการคณะกรรมการด้านวิชาการและคณะอนุกรรมการรับผิดชอบงานธุรการ
มาตรา 11
องค์ประกอบของคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาต
หมวด 9 บทกําหนดโทษ
มาตรา 53
ผู้ใดไม่อํานวยความสะดวกแก่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่นตามมาตรา๓๘ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา 54
เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินห้าแสนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา 52
ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อหรือผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา 55
ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อํานวยความสะดวกแก่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อตามมาตรา๔๕วรรคสามต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา 51
ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อหรือไม่อํานวยความสะดวกแก่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา 56
ผู้ใดไม่มีสิทธิที่จะสวมเครื่องแบบหรือประดับเครื่องหมายของเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อกระทําการเช่นนั้นเพื่อให้บุคคลอื่นเชื่อว่าตนมีสิทธ
ระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา 50
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งตามมาตรา๓๑ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา 57
บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ที่มีโทษปรับสถานเดียวหรือมีโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปีให้อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายมีอํานาจเปรียบเทียบได้
มาตรา 49
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการคณะกรรมการด้านวิชาการหรือคณะอนุกรรมการ คําสั่งของคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด หรือคําสั่งของคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร หรือคําสั่งของเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 8
เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อให้รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการด้านวิชาการประกาศให้ท้องที่หรือเมืองท่าใดนอกราชอาณาจักรเป็นเขตติดโรคและยกเลิกประกาศเมื่อสภาวการณ์ของโรคนั้นสงบลง
มาตรา 9
เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคระบาดให้อธิบดีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการด้านวิชาการมีอํานาจประกาศชื่ออาการสําคัญและสถานที่ที่มีโรคระบาดและแจ้งให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ ประกาศยกเลิกเมื่อสภาวการณ์ของโรคนั้นสงบลงหรือกรณีมีเหตุอันสมควร
มาตรา 7
เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมีอํานาจประกาศกําหนด
มาตรา 10
ในกรณีที่ข้อมูลจากการเฝ้าระวังการสอบสวนโรคหรือการแจ้งหรือรายงานตามพระราชบัญญัตินี้ซึ่งมีการพาดพิงถึงตัวบุคคลทั้งที่ระบุตัวได้หรือไม่สามารถระบุตัวได้จะต้องเก็บเป็นความลับและประมวลผลโดยไม่เปิดเผยชื่อ
มาตรา 6
เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อให้รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจประกาศกําหนด