Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด
4.3.1 หลักการให้สารน้้ำทางหลอดเลือดดำ
1. การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
(Peripheral intravenous infusion)
เป็นการให้สารน้าหรือของเหลวทางหลอดเลือดดำที่อยู่ในชั้นตื้น ๆ
Heparin lock
เป็นการแทงเข็มให้สารน้ำทางหลอดเลือดำส่วนปลายและคา
เข็มที่หล่อด้วยสารต้านการแข็งตัวของเลือด (Heparin)
Piggy back IV Administration เป็นการให้สารน้ำขวดที่ 2 ซึ่งมีขนาดบรรจุ 25 – 250 มล.² ต่อเข้ากับชุดให้สารน้ำขวดแรก
2. การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่
(Central venous therapy)
เป็นการให้สารนฃ้ำหรือของเหลวทาง
Central line ทางหลอดเลือดดำใหญ่ ๆ
Subclavian vein, Internal & External jugular veins
Right & Left Nominate veins
3. การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
(Implanted vascular access device
)
เป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลว
ทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนัง โดยที่ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดำใหญ่
4.3.2 ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
แบ่งออกตามความเข้มข้นได้ 3 ชนิด
1. สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)
จะมีความเข้มข้นเท่ากันน้้ำนอกเซลล์
(Extracellular fluid) ซึ่งมีออสโมลาริตี้ระหว่าง 280-310 m0sm/l
Lactated Ringer’s
Ringer’s, Normal saline
2. สารละลายไฮโปโทนิก (Hypotonic solution)
ออสโมลาริตี้ น้อยกว่า 280 m0sm/l ซึ่งค่า
Osmolarityน้อยกว่าน้ำนอกเซลล์ เป็นสารน้าที่มีโมเลกุลอิสระของน้ามากกว่าในเซลล์
0.33% Sodium chloride
2.5% Dextrose in water
3. สารละลายไฮเปอร์โทนิก (Hypertonic solution)
เป็นสารน้้ำที่มีค่าออสโมลาริตี้ มากกว่า
310 m0sm/l
5% Dextrose in half-normal
saline
5% Dextrose in normal saline
4.3.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ
อัตราการหยดของสารน้้ำ
ล้วนขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่าเกินไป การแขวนขวดสารน้ำให้สูง สารน้าจะหยดเร็วกว่าการแขวนขวดในระดับต่า
ความหนืดของสารน้ำ
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก จะบังคับการหยดได้ไม่ดีพอ อัตราการหยดจะเร็ว
สายให้สารน้า มีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกด จะทาให้สารน้าผ่านไม่สะดวก
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด แน่นหรือตึงเกินไปรวมทั้งการนั่ง หรือนอนทับสายให้สารน้า จะปิดกั้นทางผ่านของสารน้า ทาอัตราการหยดช้าลง
4.3.4 การคำนวณอัตราการหยดของสารน้าทางหลอดเลือดดำ
สูตรการค้านวณอัตราหยดของสารน้าใน 1 นาที
จานวนหยดของสารละลาย (หยด/ นาที) = จานวน Sol.(มล/ชม.)
x จานวนหยดต่อมล.)
เวลา(นาที)
สูตรการค้านวณสารน้าที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้าที่จะให้ใน 1 ชม. = ปริมาตรของสารน้าที่จะให้
จานวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
4.3.5 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
1. การเลือกตำแหน่งของ
หลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
1) เลือกหลอดเลือดดาของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
2) ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้าที่หลอดเลือดดาส่วนปลายของแขนก่อน
3) ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม
4) ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้้ำ
5) หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่าง ๆ เพราะจะทาให้หลอดเลือดแตกทะลุง่าย
2. อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ขวดสารน้ำ โดยขวดสารน้ำ/ยา ต้องเตรียมให้ตรงกับใบสั่งการรักษาและตรวจสอบดูว่าสภาพขวดสารน้า/ยาไม่มีรอยแตกร้าว
2) ชุดให้สารน้้ำ(IV Administration set)
ใช้เป็นทางผ่านของสารน้าจาก
ขวดไปสู่หลอดเลือดดาของผู้ป่วยบรรจุ
ในซองที่ปิดผนึกมิดชิดผ่านการฆ่าเชื้อมี 2 แบบ
แบบชุดให้สารน้ำชนิดหยดธรรมดา (Regular or macro drip
administration set)
ชุดให้สารน้ำชนิดหยดเล็ก (Micro drip administration set)
3) เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดาส่วนปลาย
(Peripheral insertion devices)
ทาด้วยเทฟล่อนนิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบัน
4) อุปกรณ์อื่น ๆ
เสาแขวนขวดให้สารน้้ำ
ยางรัดแขน (Tourniquet)
ก๊อซปลอดเชื้อ
การให้สารน้ำเข้าทางหลอดเลือดดาต้องพิจารณาตำแหน่งของหลอดเลือดดาที่จะแทงเข็ม
4.3.6 อาการแทรกซ้อนจากการ
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดด้า
1
. ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ (Local complication)
1) การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอก หลอดเลือดดา (Infiltration)
2) การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม (Extravasations)
3) การติดเชื้อเฉพาะที่ (Local infection)
4) หลอดเลือดดาอักเสบ (Phlebitis) ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็มบวม
ตาแหน่งที่แทงเข็มแดงร้อนไปตามแนวของหลอดเลือด
การพยาบาล
1) หยุดให้สารน้า จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลาตัวผู้ป่วย
2) ประคบด้วยความร้อนเปียก
3) เปลี่ยนที่แทงเข็มให้สารน้าใหม่
4) รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
5) จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลาตัวผู้ป่วย
เพื่อลดอาการบวม
2. ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด
(Systemic complication)
1) การแพ้ยาหรือสารน้าที่ได้รับ (Allergic reaction)
มีผื่นแพ้เกิดขึ้นที่ผิวหนังร่วมกับอาการแพ้ต่าง ๆ
2) การติดเชื้อในกระแสเลือด (Bacteremia หรือ Septicemia)
3) เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด (Air embolism)
เกิดจากการไล่ฟองอากาศในชุดสายให้สารน้าไม่หมด
4) ให้สารน้าเร็วเกินและมากเกินไป (Circulatory overload)
การพยาบาล
1) หยุดให้สารน้า
2) เปลี่ยนขวดให้สารน้ำ
กรณีผู้ป่วยมีการแพ้ยาหรือสารน้าที่ได้รับ หรือมีการติดเชื้อ
3) ให้การช่วยเหลือตามอาการ
เช่น ให้ ออกซิเจนในกรณีที่ผู้ป่วยหายใจไม่ออก แล้วรีบ
รายงาน ให้แพทย์ทราบ เพื่อให้การรักษา
4) วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ
4.3.7 การใช้กระบวนการพยาบาล
ในการให้สารน้าทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
1.1 ระดับความรู้สึกตัว
1.2 พยาธิสภาพของโรค
ประวัติเจ็บป่วย โรคของผู้ป่วย
และโรคหรืออาการแทรกซ้อน
การประเมินด้านจิตใจ
2.1 ความพร้อมของการรับบริการให้สารน้าทางหลอดเลือดดา
2.2 ความต้องการรับบริการให้สารน้าทางหลอดเลือดดา
2.3 ความวิตกกังวลและความกลัว
การประเมินสิ่งแวดล้อม
3.1 ความสะอาดของสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วยและรอบเตียง
3.2 ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสิ่งแวดล้อมผู้ป่วย
3.3 ความพร้อมใช้ของสิ่งแวดล้อมตัวผู้ป่วย เช่น
ตู้ข้างเตียง เหล็กกั้นเตียง เป็นต้น
3.4 บรรยากาศในหอผู้ป่วย และมีอากาศถ่ายเทสะดวก
การประเมินแผนการรักษา
4.1 ตรวจสอบแผนการรักษา
4.2 ตรวจสอบชนิดของสารน้าตามแผนการรักษา
ชนิด ปริมาณ อัตรา และเวลา
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้สารน้าทางหลอดเลือดดาตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 3
การวางแผนในการให้สารน้าทางหลอดเลือดดำ
วางแผนให้สารน้าทางหลอดเลือดดาโดยประยุกต์ใช้หลักการ 6 Rights
หลักความปลอดภัย SIMPLE
ของ patient safety goal
วัตถุประสงค์ของการให้สารน้าทางหลอดเลือดดำ
ให้สารน้าทดแทนน้าที่สูญเสียจากร่างกาย เช่น ท้องเสีย อาเจียน เสียเลือด เป็นต้น
ให้สารน้าเพียงพอกับความต้องการของร่างกายในรายที่ไม่สามารถรับประทานได้ทางปาก
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยได้รับสารน้าทางหลอดเลือดดาไม่พบอาการแทรกซ้อนและปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้าทางหลอดเลือดดำ
เครื่องใช้
intravenous fluid (IV fluid) ตามแผนการรักษา
intravenous catheter (IV cath.) เบอร์ 22/ 24
intravenous set (IV set)
tourniquet
สาลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
extension tube
three ways
IV stand (เสาน้าเกลือ)
พลาสเตอร์
แผ่นฉลากชื่อ
ถุงมือสะอาด mas
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้าทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลการให้สารน้าทางหลอดเลือดดา เป็นการประเมินผลลัพธ์การพยาบาล โดย
1.1 ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของผู้ป่วยและปลอดภัยตาหลักการ 6 Rightsและหลักความปลอดภัย SIMPLE
1.2 ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย (โดยการสอบถามผู้ป่วย)
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน เพื่อนามาปรับปรุง
2.1 ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ
2.2 ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม่
การประเมินผลคุณภาพการบริการ
3.1 ประเมินคุณภาพของการปฏิบัติงานในข้อ 2 อยู่ในคุณภาพระดับใด
3.2 ประเมินคุณภาพของการให้บริการ ข้อ 3 อยู่ในคุณภาพระดับใด
**4.3.8 การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัย
การบริหารยาที่มีประสิทธิภาพโดยใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนในการบริหารยา
วัตถุประสงค์ของการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาออกฤทธิ์เร็ว
ให้ยาที่มีผลระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อ
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
วิธีการฉีดยาแบบที่ 1 IV plug กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 2 IV plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 3 Surg plug กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 4 Surg plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 5 three ways กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 6 three ways กับ syringe IV push
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลการบริหารยาฉีด
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผลคุณภาพการบริการ