Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารนํ้าทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารนํ้าทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลักการให้สารนํ้าทางหลอดเลือดดำ :<3:
การให้สารนํ้าทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย (Peripheral intravenous infusion)
เป็นการให้สารน้ํ้าหรือของเหลวทางหลอดเลือดดำที่อยู่ในชั้นตื้น ๆ ของผิวหนัง
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำใหญ่ (Central venous therapy)
เป็นการให้สารนํ้าหรือของเหลวทาง Central line ทางหลอดเลือดดำใหญ่ ๆ
การให้สารน้้าและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
(Implanted vascular access device หรือ venous port)
เป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลว
ทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนัง
ชนิดของสารน้ํ้าที่ให้ทางหลอดเลือดดำ :<3:
แบ่งออกตามความเข้มข้นได้ 3 ชนิด
สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)
จะมีความเข้มข้นเท่ากันน้ํ้านอกเซลล์(Extracellular fluid) ซึ่งมีออสโมลาริตี้ระหว่าง 280-310 m0sm/l
สารละลายไฮโปโทนิก (Hypotonic solution)
ออสโมลาริตี้ น้อยกว่า 280 m0sm/l ซึ่งค่าOsmolarityน้อยกว่าน้ํ้านอกเซลล์เป็นสารนํ้าที่มีโมเลกุลอิสระของนํ้ามากกว่าในเซลล
สารละลายไฮเปอร์โทนิก (Hypertonic solution)
เป็นสารนํ้าที่มีค่าออสโมลาริตี้ มากกว่า310 m0sm/l ซึ่งมีมากกว่าออสโมลาริตี้ของนํ้านอกเซลล์
การคำนวณอัตราการหยดของสารนํ้าทางหลอดเลือดดำ :<3:
สูตรการค้านวณอัตราหยดของสารน้้าใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย (หยด/ นาที)
จำนวน Sol.(มล/ชม.) x จ านวนหยดต่อมล.) หาร เวลา(นาที)
สูตรการค้านวณสารน้้าที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารนํ้าที่จะให้ใน 1 ชม.
ปริมาตรของสารน้ํ้าที่จะให้ หาร จำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารนํ้า :<3:
ระดับขวดสารนํ้าสูงหรือตํ่าเกินไป
ความหนืดของสารนํ้า ถ้าสารนํ้ามีความหนืดสูงอัตราการหยดจะช้า
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ เข็มขนาดใหญ่จะมีทางผ่านกว้าง อัตราการหยดจะเร็วกว่าใช้เข็มขนาดเล็ก
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก จะบังคับการหยดได้ไม่ดีพอ อัตราการหยดจะเร็ว
สายให้สารน้ํ้า มีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกด จะทำให้สารนํ้่าผ่านไม่สะดวก อัตราการไหลจะช้าลง
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด แน่นหรือตึงเกินไปรวมทั้งการนั่ง
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย อาจทำให้เข็มเคลื่อนที่
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น
การให้สารนํ้าทางหลอดเลือดดำ :<3:
การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
1) เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถใช้แขนข้างที่ถนัดทำกิจวัตรต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง
2) ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารนํ้าที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน เพื่อให้หลอดเลือดดำส่วนที่ถัดเข้ามาสามารถใช้งานได้อีก
3) ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม เช่น ไม่มีบาดแผล
4) ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขา ให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารนํ้า
5) หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่าง ๆ เพราะจะทำให้หลอดเลือดแตกทะลุง่าย
6) คำนึงถึงชนิดของสารนํ้าที่ให้ หากเป็นสารนํ้าชนิด Hypertonic
อุปกรณ์เครื่องใช้
1) ขวดสารนํ้า โดยขวดสารนํ้า/ยา ต้องเตรียมให้ตรงกับใบสั่งการรักษาและตรวจสอบดูว่าสภาพขวดสารนํ้า/ยาไม่มีรอยแตกร้าว
2) ชุดให้สารน้ า (IV Administration set) ใช้เป็นทางผ่านของสารนํ้าจาก
ขวดไปสู่หลอดเลือดดำของผู้ป่วยบรรจุในซองที่ปิดผนึกมิดชิดผ่านการฆ่าเชื้อ สามารถเปิดใช้ได้ทันที
3) เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย (Peripheral insertion devices) ทำด้วยเทฟล่อนนิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบัน มีหลายขนาดตั้งแต่เบอร์ 14, 16, 18, 20, 22 และ 24
4) อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น เสาแขวนขวดให้สารนํ้า ยางรัดแขน (Tourniquet) แผ่นโปร่งใสปิดต าแหน่งที่แทงเข็ม (Transparent dressing) หรือก๊อซปลอดเชื้อ
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารนํ้าทางหลอดเลือดดำ :<3:
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ (Local complication)
1) การบวมเนื่องจากสารน้ํ้าซึมออกนอก หลอดเลือดดำ (Infiltration)
2) การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม (Extravasations)
3) การติดเชื้อเฉพาะที่ (Local infection)
4) หลอดเลือดดำอักเสบ (Phlebitis)
การพยาบาล
1) หยุดให้สารนํ้า จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย
2) ประคบด้วยความร้อนเปียก
3) เปลี่ยนที่แทงเข็มให้สารน้ํ้าใหม่
4) รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
5) จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย เพื่อลดอาการบวม
6) ส่งหนองบริเวณที่แทงเข็มเพาะเชื้อ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด (Systemic complication)
1) การแพ้ยาหรือสารนํ้าที่ได้รับ (Allergic reaction)
2) การติดเชื้อในกระแสเลือด (Bacteremia หรือ Septicemia)
3) เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด (Air embolism)
4) ให้สารนํ้าเร็วเกินและมากเกินไป (Circulatory overload)
การพยาบาล
4) วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
5) เตรียมรถ Emergency ในการช่วยเหลือเร่งด่วน
6) รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
7) ส่งเลือดและหนองที่เกิดเฉพาะที่ไปเพาะเชื้อ
8) ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
9) ดูแลให้ออกซิเจน
10) จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะตํํ่ากรณีความดันโลหิตตํ่า
1) หยุดให้สารนํ้า
2) เปลี่ยนขวดให้สารนํ้า กรณีผู้ป่วยมีการแพ้ยาหรือสารนํ้าที่ได้รับ หรือมีการติดเชื้อ
3) ให้การช่วยเหลือตามอาการ
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารนํ้าทางหลอดเลือดดำ :<3:
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้สารน้ํ้าทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
การหยุดให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
อุปกรณ์เครื่องใช้
1) สำลีปลอดเชื้อ หรือก๊อซปลอดเชื้อ
2) พลาสเตอร์
3) ถุงมือชนิดใช้แล้วทิ้ง
วิธีปฏิบัติ
1) ปิด clamp
2) แกะพลาสเตอร์ที่ปิดยึดหัวเข็ม
3) สวมถุงมือเพื่อไม่ให้เลือดสัมผัสกับมือพยาบาล
4) ดึงเข็มที่ให้สารน้ํ้าออกทางผิวหนังตามแนวที่แทงเข็มด้วยความนุ่มนวล
5) ใช้สำลีแห้งหรือก๊อซปลอดเชื้อกดทับที่ตำแหน่งที่ดึงเข็มออกหรือยึดติดด้วย พลาสเตอร์
6) เก็บชุดให้สารน้ํ้าและเข็มที่แทงให้เรียบร้อย
7) บันทึกในบันทึกทางการพยาบาลวัน เวลาและเหตุผลของการหยุดให้สารนํ้า
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดำ :<3:
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
การประเมินด้านจิตใจ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการบริหารยา
วัตถุประสงค์ของการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาออกฤทธิ์เร็ว
ให้ยาที่มีผลระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อ
ให้ยาชนิดที่ไม่สามารถให้ทางอื่นได้ผลต่อการรักษา
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights
ผู้ป่วยปลอดภัยตามหลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
วิธีการฉีดยาแบบที่ 1 IV plug กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 2 IV plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 3 Surg plug กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 4 Surg plug กับ syringe IV push
วิธีการฉีดยาแบบที่ 5 three ways กับ piggy back (100 ml)
วิธีการฉีดยาแบบที่ 6 three ways กับ syringe IV push
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลการบริหารยาฉีด เป็นการประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ :<3:
ส่วนประกอบของสารอาหารในสารละลาย
คาร์โบไฮเดรต นิยมใช้ในรูปของกลูโคส ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่ต่อ 1 กรัม
สารละลายไขมัน (fat emulsion) ให้พลังงาน 9 กิโลแคลอรี่ต่อ 1 กรัม
โปรตีนอยู่ในรูปกรดอะมิโน ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่ต่อ 1 กรัม
วิตามิน ให้ทั้งชนิดละลายในนํ้า
เกลือแร่
นํ้าให้คำนวณจำนวนน้ํ้าที่จะให้แก่ผู้ป่วยตามนํ้าหนักตัว
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Total parenteral nutrition (TPN)
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
ตำแหน่งของการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้ทางหลอดเลือดดำแขนง (peripheral vein)
การให้ทางหลอดเลือดด าใหญ่ (central vein)
อุปกรณ์ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
สายให้อาหารทางหลอดเลือดดำ
ชุดให้สารอาหาร
ขั้นตอนในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
ล้างมือให้สะอาดก่อนให้การพยาบาลทุกครั้ง สวมmask
เตรียมอุปกรณ์ในการให้ PPN หรือ TPN ที่สะอาดปราศจากเชื้อ
ต่อสายยางให้อาหารเข้าไปในชุดให้สารอาหาร
ตรวจสอบ PPN หรือ TPN จะต้องไม่ขุ่นหรือมีตะกอน
มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย ชนิดและปริมาณของสารอาหาร
นำสารอาหารและสายยางให้สารอาหารไปต่อกับผู้ป่วย
ให้สารอาหารปรับจ านวนหยดตามแผนการรักษา
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ :<3:
บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง (Local infiltration)
ลักษณะที่พบ
1) บวมบริเวณที่ให้ บางครั้งอาจมองเห็นไม่ชัดเจน
2) ผู้ป่วยรู้สึกไม่สุขสบายบริเวณที่ให้
การพยาบาลและการป้องกัน
1) ถ้าพบว่ามีสารอาหารซึมออกมาอยู่ในเนื้อเยื่อควรหยุดให้สารอาหารทันที
2) ควรดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันการเกิดสารอาหารซึมออกมาอยู่ในเนื้อเยื่อ
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด (Embolism)
ลักษณะที่พบ
1) อาการเขียว เนื่องจากขาดออกซิเจน ความดันเลือดตํ่า ชีพจรเบาเร็ว
2) สังเกตพบว่าอัตราการหยดของสารอาหารจะช้าลง หรือหยุดไหล
การพยาบาลและการป้องกัน
1) ระมัดระวังในการเปลี่ยนขวดสารอาหารไม่ให้อากาศผ่านเข้าไปในชุดสาย
2) หยุดให้สารอาหารทันทีถ้าพบว่ามีก้อนเลือดอุดตันที่เข็ม
3) ห้ามนวดคลึงเพราะอาจทำให้ก้อนเลือดนั้นหลุดเข้าไปในกระแสเลือด
การให้สารอาหารมากเกินไป (Circulatory overload)
ลักษณะที่พบ
1) อาการแสดงที่ปรากฏเริ่มแรก คือ ปวดศีรษะ หายใจตื้น และหอบเหนื่อย
3) ผู้ป่วยมีปริมาณน้ าเข้าและออก (intake/output) ไม่สมดุล
4) มีการคั่งของเลือดด าจะพบว่าหลอดเลือดด าที่คอโป่ง
5) ถ้ารุนแรงจะมีภาวะปอดบวมน้ า อาการคือ หายใจล าบาก นอนราบไม่ได้
2) ตรวจพบความดันเลือดและแรงดันหลอดเลือดส่วนกลางสูงขึ้น ชีพจรเร็ว
การพยาบาลและการป้องกัน
1) ปรับอัตราหยดให้ช้าที่สุดและรายงานให้แพทย์ทราบด่วน
2) บันทึกสัญญาณชีพ
3) จัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่านั่งเพื่อช่วยให้หายใจสะดวกขึ้น
ไข้(pyrogenic reactions)
ลักษณะที่พบ
1) ไข้สูง 37.3-41 องศาเซลเซียส
2) ปวดหลัง ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน
3) หนาวสั่น
4) ความรุนแรงของอาการขึ้นอยู่กับเชื้อจุลินทรีย์ที่ได้รับและสภาวะของผู้ป่วย
การพยาบาลและการป้องกัน
1) หยุดให้สารอาหาร
2) บันทึกสัญญาณชีพ และรายงานแพทย์
3) ถ้าเป็นไปได้ ควรเก็บชุดให้สารอาหารและชุดสายให้สารอาหารส่งเพาะเชื้อ
4) การเตรียมสารอาหารควรทำด้วยวิธีปลอดเชื้อ
5) เขียนวัน เวลาที่เริ่มให้สารอาหารข้างขวดเพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทราบโดยทั่วไป
6) ตรวจสอบรูรั่วของสายให้อาหารก่อนใช้ทุกครั้ง
7) เปลี่ยนชุดให้สารอาหารทุก 24 ชั่วโมง
8) ควรมีสถานที่เฉพาะส าหรับเตรียมสารอาหารและหมั่นรักษาความสะอาด
9) ล้างมือทุกครั้งก่อนสัมผัสอุปกรณ์และบริเวณที่แทงเข็ม
10) หุ้มผ้าก๊อซปราศจากเชื้อบริเวณรอยข้อต่อต่างๆ
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ :<3:
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย (Assessment)
ขั้นตอนที่ 2 ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดด้า (Evaluation)
การประเมินผลการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด :<3:
ในระบบ ABO จำแนกหมู่เลือดออกเป็น 4 หมู่ คือ หมู่เลือด A, B, AB และ O ปกติบนผิวเม็ดเลือดแดงจะมีแอนติเจน
การให้เลือดแม้จะช่วยชีวิตผู้ป่วยได้ แต่ก็ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้เช่นกัน ซึ่งอาจท าให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิตได้
การให้และการรับเลือดในหมู่เลือด
คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve ต้องรับจาก Rh-ve เท่านั้น
คนเลือดกรุ๊ป O รับได้จาก O เท่านั้น แต่ให้กับกรุ๊ปอื่นได้ทุกกรุ๊ป
คนเลือดกรุ๊ป ABรับได้จากทุกกรุ๊ป แต่ให้เลือดแก่ผู้อื่นได้เฉพาะคนที่เป็นเลือดกรุ๊ป AB
คนเลือดกรุ๊ป A รับได้จาก A และ O ให้ได้กับ A และ AB
คนเลือดกรุ๊ป B รับได้จาก B และ O ให้ได้กับ B และ AB
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด :<3:
เม็ดเลือดแดงสลายตัว (Hemolysis)
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป (Volume overload)
ไข้ (Febrile transfusion reaction)
ปฏิกิริยาภูมิแพ้ (Allergic reaction)
การถ่ายทอดโรค (Transfusion-associated graft versus host disease)
การอุดตันจากฟองอากาศ (Air embolism)
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ เกิดจากการให้เลือดติดต่อกันเป็นจำนวนมากจึงมีการสะสมของสารกัน
การแข็งตัวของเลือด (Acid – citrate dextrose)
ภาวะโปตัสเซียมเกินปกติ (Hyperkalemia)
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด :<3:
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นตอนที่ 4 การให้เลือดและสารประกอบของเลือด
เครื่องใช้
intravenous fluid (IV fluid) ตามแผนการรักษา
intravenous catheter (IV cath.) เบอร์ 18
blood transfusion set (Blood set)
tourniquet
ส าลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
extension tube
three ways
IV stand (เสาน้ าเกลือ)
พลาสเตอร์ หรือ transparent ส าเร็จรูป
แผ่นฉลากชื่อ
ถุงมือสะอาด mask
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้เลือดและสารประกอบของเลือด
การดูแลผู้ป่วยภายหลังได้รับเลือด
1) ตรวจสอบสัญญาณชีพหลังการให้เลือด 15 นาที และต่อไปทุก 4 ชั่วโมง
2) สังเกตปฏิกิริยาที่เกิดจากการให้เลือดอย่างต่อเนื่อง
3) ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบายตลอดระยะเวลาที่ให้เลือด
4) บันทึกหมู่เลือด ชนิดของเลือด หมายเลขเลือด ปริมาณเลือด วัน เวลา
การบันทึกปริมาณนํ้าเข้า-ออกจากร่างกาย :<3: (Record Intake-Output)
หลักการบันทึกจ้านวนสารน้้าที่เข้าและออกจากร่างกาย
1) แบบฟอร์มการบันทึกควรแขวนไว้ที่เตียงผู้ป่วย เพื่อสะดวกในการจดบันทึกและเมื่อครบ 24ชั่วโมง
2) อธิบายเหตุผลและความสำคัญของการวัดและการบันทึกจำนวนนํ้าที่รับเข้าและขับออกจากร่างกาย
3) ร่วมกับผู้ป่วยในการวางแผนกำหนดจำนวนนํ้าที่เข้าสู่ร่างกายในแต่ละช่วงเวลา
4) จดบันทึกจำนวนนํ้าและของเหลวทุกชนิดที่ให้ขณะมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร
5) การจดบันทึกควรสรุปทุก 8 ชั่วโมง และทุกวัน
6) บันทึกจำนวนสารน้ํ้าที่สูญเสียทางอื่น ๆ เช่น อาเจียน ท้องเดิน
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของสารน้้าในร่างกาย :<3:
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
1) หยุดให้สารนํ้าทันที
2) ประเมินอาการบวมที่หลังมือซ้ายทุกเวร หากบวมมากขึ้น ผู้ป่วยมีไข้
3) บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
4) จัดมือซ้ายที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย โดยใช้หมอนรอง เพื่อลดอาการบวม
5) เปลี่ยนบริเวณที่แทงเข็มให้สารนํ้าใหม่
6) ประเมินการขาดสารนํ้าและอิเล็คโตรไลท์ โดยบันทึกปริมาณสารนํ้าเข้า
7) ลดภาวะเครียดโดยให้ความช่วยเหลือทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
2) ประเมินอาการหลอดเลือดด าอักเสบบริเวณหลังมือ (อาการบวมลดลง)
3) ปริมาณสารนํ้าเข้าและออกมีความสมดุล
1) ประเมินอาการปวดของผู้ป่วย (โดยการสังเกตสีหน้าท่าทางของผู้ป่วย และจาก Painscale)