Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจร่างกาย (Physical Examination ) - Coggle Diagram
การตรวจร่างกาย (Physical Examination )
การตรวจหัวใจ
การดู
ผิวหนังเขียวคล้ำ อาจพบ spider nevi
หลอดเลือดดำที่ผนังทรวงอกขยายผิดปกติ
มีการนูนหรือยุบ (Depression) บริเวณ precordium พบ apical impulse อยู่ต่ำและออกไปทางซ้ายมากกว่าปกติหรือพบมีการเต้นบริเวณอื่นนอกบริเวณ apical impulse
การดูเส้นเลือดดำที่คอด้วยว่าโป้งพองหรือไม่ ในภาวะปกติ ไม่เห็น jugular vein โปงพองหรือ neckvein engorge ในท่านอนสูง45องศาหรือความดันเลือดดำ jugular (jugular vein pressure)ไม่เกิน 2เซนติเมตร ในท่านอนสูง 45 องศา ภาวะผิดปกติ jugนlar vein โป้งพอง ความดันเลือดดำ เกินกว่า 4เซนติเมตร
การเคาะ
ริมซ้ายและริมขวาของหัวใจกว้างเกินปกติ
การฟัง
อัตราการตันหัวใจผิดปกติ
จังหวะเต้นไม่สม่ำเสมอ
พบเสียงผิดปกติเช่น murmur หรือเสียงฟูเป็นเสียงที่เกิดจากการสั่นสะเทือนเนื่องจากการไหลของเลือดผ่านลิ้นหัวใจที่ผิดปกติ
ระดับเสียง murmur มี
6ระดับ
เกรด 1 เบามาก ฟังได้ยาก
เกรด 2 ดังขึ้นกว่าเกรด 1 ฟังได้ง่ายขึ้น
เกรด 3 ดังชัดเจน ฟังง่ายขึ้น
เกรด 4 ดังชัดเจนเริ่มคลำได้ thrill
เกรด 5 ดังมาก และคลำได้ thrill
เกรด 6 ได้ยินโดยไม่ใช้หูฟัง
การคลำ
apex beat เลื่อนจากตำแหน่งปกติ ซึ่งต้องบอกว่าอยู่ตรงกับช่องซี่โครงใด และห่างหรือใกล้กับเส้น mid clavicular lineหรือ anterior axillary line กี่เซนติเมตร apex beat ทีแรงและกว้างกว่าปกติและเลยออกด้านข้าง แสดงถึงหัวใจห้องล่าง hypertrophy, คลำพบ heave แสดงถึงความผิดปกติของหัวใจส่วนที่คลำได้ คลำพบ thrill แสตงถึงลิ้นหัวใจที่ผิดปกติ
การตรวจระบบประสาท
ระดับความรู้สึก
Drowsiness: สะลืมสะลือ ถ้ามี External stimuli จะมีการตอบสนองบ้าง พอหยุดกระตุ้น จะซึมหรือหลับไป
Stupor: มีการลดลงของ Mental and physical activity อย่างมากตอบสนองต่อ External stimuli ลดลงไปอีก ต้องใช้การกระตุ้นที่รนแรงมากขึ้น
Semi-coma ไม่ค่อยรู้สึกตัวเมื่อกระตุ้นด้วย stimuli ที่รุนแรงมีการตอบสนองได้แต่เป็นแบบไม่มีจุดมุ่งหมาย Reflex ต่าง ๆยังคงอยู่,
Coma: ไม่ตอบสนองต่อStimuli และความเจ็บปวด ไม่ตอบสนองต่อ Reflexการตรวจกำลังของกล้ามเนื้อ, มีความตึงตัวมากกว่าปกติหรือ Hypertonia หรือน้อยกว่าปกติ Hypotoniaมี Spasticity หรือความตันท่านเพิ่มขึ้นแบหดเกร็งและเกิดเฉพาะช่วงแรกที่ถูกทำให้เคลื่อนไหวเท่านั้นส่วน Rigidity หรือความต้นทานเพิ่มขึ้นแบบแข็งเกร็งและเกิดตลอดการถูกทำให้เคลื่อนไหว Flaccid หรือกล้ามเนื้ออ่อนปวกเบียก
การตรวจกำลังของกล้ามเนื้อ ระดับกำลังของกล้ามเนื้อดังนี้
เกรค 0 = ไม่มีการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ
เกรด 1 = มีการหดเกร็งของกล้ามเนื้อเล็กน้อย (พอกระดิกนิ้วได้) (บางครั้งเรียก Trace)
เกรด 2 = เคลื่อนไหวในแนวราบได้
เกรด 3 = เคลื่อนไหวได้ ต้านแรงโน้มถ่วงได้ ต้านแรงผู้ตรวจไม่ได้ (บางครั้งเรียก Fair)
เกรด 4 = เคลื่อนไหวได้ ต้านแรงโน้มถ่วงได้ ต้นแรงผู้ตรวจได้บ้าง (บางครั้งเรียก Good)
เกรด 5 = ปกติ
ภาวะผิดปกติ การอ่อนแรงของกล้มเนื้อเรียกว่า Paresis การเคลื่อนไหวไม่ได้เรียก Paralysis
การตรวจ Glasgow Coma Scale (GCS) ประกอบด้วย
Verbal response เต็ม 5 คะแนน
5: พูดได้ปกติ
4 : พูดได้แต่สับสน
3 : พูดได้เป็นคำๆ
2 : ส่งเสียงอือออในลำคอ
1: ไม่พูด
Motor response เต็ม 6 คะแนน
6 : obeys commands
5: localized to pain
4 :withdraw from pain
3 : flexion to pain
2 : extension to pain
1: none
Eye opening เต็ม 4 คะแนน
4 : ลืมตาปกติ
3 : ลืมตาเมื่อเรียก
2 : ลืมตาเมื่อเจ็บ
1 :ไม่ลืมตา
การตรวจการทำงานประสานกัน
การตรวจการเคลื่อนไหว แบบ Rapid alterenating Movement ให้ผู้ป่วยใช้ปลายนิ้วหัวแม่มือแตะปลายนิ้วอื่นๆ ของมือเดียวกัน ตามลำดับด้วยความเร็วพอควร หรือให้ตบมือลงบนเข่าอย่างรวดเร็ว โดยให้คว่ำมือ สลับหงายมือ สังเกตความคล่องแคล่ว ถ้าผิปกติจะไม่คล่องแคล่ว ( Incoordinate )
*การตรวจสันเท้าแตะเข่า (Heel to Knee test) โดยให้ผู้ป่วยนอนหงายยกเท้าข้างหนึ่งขึ้นแตะสันเท้าลงบนเข่าอีกข้างหนึ่ง ลากไปตามลันหน้าแข้งจน ถึงปลายเท้า สังเกตความคล่องแคล่ว แม่นยำ ปกติทำได้คล่องแคล่ว และแม่นยำ
การตรวจ Finger to Nose ให้มือผู้ตรวจ โดยผู้ตรวจเปลี่ยนตำแหน่งนิ้วมือไปเรื่อยๆ สังเกตความคล่องแคล่วในการทำ ปกติจะทำได้ถูกต้องคล่องแคล่วไม่มีการส่าย หรือทำไม่ได้ไม่ตรงเป้า แต่ถ้ามี Ataxia จะไม่ตรงเป้า
การตรวจท้อง
การฟัง
เสียงการเคลื่อนไหวและบีบตัวของลำไส้ดังบ่อยและเพิ่มมากขึ้น ซึ่งพบในรายที่มีการอักเสบหรืออุดตัน
เสียงกรุ่งกริ่ง (tinkling sound) ซึ่งเป็นเสียงน้ำปนกับอากาศในลำไส้ มักได้ยินพร้อมกับเวลาที่ผู้ป่วยมีอาการปวดท้อง เสียงการบีบตัวของลำไส้ลดลงหรือหายไปซึ่งพบในรายที่มีเยื่อบุช่องท้องอักเสบ(Peritonitis) หรือParalytic ileus
การเคาะ
จะได้ยินเสียงโปร่งหรือ Hypertympany ในกรณีที่มีอากาศมาก และถ้าหากมีสารน้ำหรือ
ก้อนจะเคาะทึบ การแยกว่าเป็นสารน้ำหรือก้อน ใช้การตรวจหาสารน้ำในช่องท้อง
การตรวจสารน้ำในซ่องท้องมี 2 วิธีคือ
Shifting dullness หรือตรวจการเปลี่ยนที่ของเสียงเคาะทึบ
Fluid thrill หรือการกระเพื่อมของน้ำในช่องท้อง
การเคาะตับ
ภาวะปกติ
เคาะได้เสียงทึบของตับตามแนว Mid clavicular line ระหว่างช่องซี่โครง ที 6 ถึงใต้ชายโครงประมาณ 1 นิ้ว หรือกว้างประมาณ 10-12 เชนติเมตร
ภาวะผิดปกติ
เคาะได้บริเวณตับเล็กกว่าปกติซึ่งอาจพบได้ในภาวะถุงลมปอดโป้งพองมากหรือมีก๊าชไต้กระบังลมมาก เคาะได้บริเวณตับโตกว่าปกติ พบได้ในผู้ที่มีพยาธิสภาพของตับ
การเคาะม้าม
เสียงทึบของม้ามมากกว่าปกติ ถือว่าอาจมีม้ามโต
การดู
ท้องโตกว่าปกติ (abdominal distention) ท้องไม่สมมาตรกัน ด้นใดค้นหนึ่งโตกว่าปกติ อาจเกิดจากลม น้ำในช่องท้อง หรือมีก้อนในช่องท้อง ท้องแฟบมากกว่าปกติ (scaphoid abdomen) พบในผู้ป่วยขาดสารอาหาร
หน้าท้องมีแผล
หลอดเลือดดำขยาย
ผนังหน้าท้องไม่เคลื่อนไหวตามการหายใจหรือมี
การเคลื่อนไหวแบบ peristalsis wave อาจพบสะดือจุ่นจากมีสารน้ำในช่อท้อง ก้อนนูนซึ่งอาจเป็น hernia
การคลำ
การคลำตับ
ตับมีขนาดโตเกินขอบชายโครงมาก
ตับแน่น (firm)
แข็ง (hard)
แข็งมากเหมือนหิน(stony hard)
ผิวขรุขระ (nodนla)
กดเจ็บ (tenseness)
การคลำม้าม
ขอบม้าม ซึ่งต้องโตประมาณ 2-3 เท่าของขนาดปกติจึงจะคลำได้
การคลำไต คลำได้ไตหรือก้อนขนาดใหญ่ หรือไต้ลักษณะผิดปกติระหว่างมือทั้งสอง ขอบไม่เรียบ แข็งมากหรือกดเจ็บ
การคลำท้อง
ท้องตึงแข็ง (guarding)
กดเจ็บ(tenderness)
เจ็บบริเวณเอว (frank pain)
พบก้อนอวัยวะในช่องท้องขนาดผิดปกติ และมี rebound tenderness
การคลำขาหนีบ
ต่อมน้ำเหลือโตอักเสบ
เป็นฝี
มีการบวมนูนขึ้นผิดปกติซึ่งอาจเป็นไส้เลื่อน
การตรวจเต้านม
การคลำ
อาการบวมแดง กดเจ็บของเต้านมหรือหัวนม
คลำพบก้อน
มีแผลหรือผิวเต้านม ไม่นุ่ม แข็ง
หัวนมมีสิ่งคัดหลั่ง
การดู
เต้านมขนาดใหญ่มากกว่าปกติ
ทั้งสองข้างมเท่ากันแตกต่างกันมาก
ผิวหนังมีสีแดงมีการอักเสบ
เห็นเส้นเลือดขยายชัดเจน บวม
หัวนมถูกดึงรั้งไปด้านใดค้นหนึ่ง
หัวนมมีสิ่งคัดหลั่งที่ผิดปกติ มีตุ่ม มีแผล มีก้อน