Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4 Routine laboratory and interpretation in primary medical care - Coggle…
4 Routine laboratory and interpretation in primary medical care
การตรวจทางเคมีคลินิก(Clinical chemistry)
Fasting blood sugar (FBS)
เป็นการตรวจหาระดบั น้า ตาลในเลือดหลังอดอาหาร ผู้ป่วยควรได้รับการอดอาหารอย่างน้อย 8 ชั่วโมงค่าปกติเท่ากับ 70-100 mg/dl
และหากตรวจพบค่าFBS มากกว่า หรือเท่ากับ 126 md/dl จะถือวา่ ผู้ป่วยมีโรคเบาหวาน
HemoglobinA1C(HbA1C)
เป็นการตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือดสะสมเฉลี่ยในช่วงระยะเวลา 3 เดือนที่ผ่านมา หากตรวจพบค่า มากกว่าหรือเท่ากับ 6.5 mg% จะถือว่า ผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน
75 g oral glucose tolerance test (OGTT)
ตรวจโดยให้ผู้ป่วยดื่มสารละลายกลูโคสปริมาณ 75 กรัม จากนั้น เจาะหาระดับน้ำตาลใน เลือดที่ 2 ชั่วโมงหลงัดื่มสารละลายกลูโคส หากตรวจพบค่าระหว่าง 140-199 mg/dl dl จะถือว่าผู้ป่วยมีความเสี่ยงสูงในการเกิดโรคเบาหวาน และถา้ตรวจพบมากกว่าหรือเท่ากับ200 mg/gl จะวินิจฉัยเป็นโรคเบาหวาน
Lipid profile
ผู้ป่วยควรไดร้ับการอดอาหารมาอย่างน้อย 10-12 hr
Total cholesterol
คือระดับของ cholesterol ท้งัหมดในร่างกายค่าปกติคือนอ้ยกวา่ 200 mg/dl 2
Triglyceridet
เป็นไขมันชนิดหน่ึงที่ร่างกายสังเคราะห์ขึ้น หรืออาจมาจากการ รับประทานอาหารบางประเภท เช่น ไขมัน สัตว์ แป้ง น้ำตาลแอลกอฮอล์เป็นต้น ค่าปกติคือ น้อยกวา่ 150 mg/dl หากตรวจพบค่า triglyceride มากกวา่ หรือเท่ากับ 500 mg/dl ผู้ป่วยจะได้รับประทานยาลดไขมัน เพื้อป้องกันการเกิดภาวะตับอ่อนอักเสบ
HDL- cholesterol หรือไขมันชนิดที่ดี
ทำหน้าที่ขจัดไขมันอันตรายไปจากกระแสเลือด ต่อต้านการสะสมผิดที่ของไขมันและcholesterolค่าปกติคือ มากกวา่ 40 mg/dl ใน ผู้ชายและมากกวา่ 50 mg/dl ในผู้หญิง
LDL- cholesterol หรือไขมันชนิดที่ไม่ดี
เป็นชนิดอันตรายเพราะเป็น cholesterol ที่ไป สะสมในผนังหลอดเลือด ทำให้หลอดเลือดแดงตีบและแข็ง ในผู้ป่วยที่ไม่มีโรค ประจำตัวควรมีระดับ LDL น้อยกวา่ 130 mg/dl ในผู้ป่วยโรคเบาหวานควรมีระดับ LDL นอ้ยกวา่ 100 mg/dlและในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบหรือโรคหลอดเลือด สมองตีบควรมีระดับ LDL นอ้ยกวา่ 70 mg/dl
Blood urea nitrogen
เป็นการตรวจวัดระดับปริมาณไนโตรเจนในเลือดเพื่อ ช่วยประเมินการทำงานของไต ค่าปกติคือ 6-20 mg/dl
Creatinine
โดย creatinine เป็นของเสียที่เกิดจากกล้ามเนื้อและถูกขับออกที่ไต การตรวจ creatinine จะนำมาใช้เพื่อประเมินการทำงานของไต
ค่าปกติเพศชาย0.6-1.2 mg/dl ค่าปกติเพศหญิง 0.5-1.0 mg/dl
Uric acid
คือend product ที่เกิดจากการย่อยสลายเบสพวิรีน (purine) ซึ่งเป็นส่วนประกอบของดีเอ็น เอและอาร์เอ็นเอ หากมีระดับ uric acid ที่สูงเกินจุดอิ่มตัวจะทำใหเ้กิดเกลือurate สะสมที่ข้อ หรือเนื้อเยื่อรอบข้อเกิดเป็นโรคgout ได้ค่าปกตใินเพศชายคือน้อยกว่า 7 mg/dl ค่าปกติในเพศ หญิงคือน้อยกว่า 6 mg/dl
Liver function test
AST/ALT, ALP
Albumin
Bilirubin
Electrolyte
Sodium (Na) ค่าปกติ135-150 mmol/L
Potassium (K) ค่าปกติ3.5-5.0 mmol/L
Chloride (Cl) ค่าปกติ98-107 mmol/L
CO2 (bicarbonate)ค่าปกติ22-29 mmol/L
Cardiac biomarkers
Myoglobin
CK-MB
Troponin
การตรวจทางโลหิตวิทยา (Hematology)
Complete blood cell count(CBC)
Hemoglobin (Hb)
ค่าปกติในเพศชายเท่ากับ 13-17 g/dl ในเพศหญิง 12-15 g/dl
Hematocrit (Hct)
ค่าปกติ ในเพศชายเท่ากับ 38-50 % ในเพศหญิง 36-45 % และอาจคำนวณ hematocrit ได้โดย ใช้สูตร Hct % = Hb*3
Mean corpuscular volume (MCV)
ค่าาปกติคือ 80-98 fL
White blood cell (WBC) นวนเม็ดเลือดขาวค่าปกติคือ 5,000 – 10,000 cell/mm3
Differntial count
คือการตรวจนับแยกชนิดของเซลล์เม็ดเลือดขาว ประกอบไปด้วย
Neutrophil ค่าปกติคือ45-75 %
Lymphocyte ค่าปกติคือ20-40 7 %
Monocyte ค่าปกติคือ2-10 %
Eosinophil ค่าปกติคือ1-6 %
Basophil ค่าปกติคือ0-2 %
Platelet เป็นการตรวจหาปริมาณเกล็ดเลือด ค่าปกติคือ140,000 –400,000/mm3
Venous clotting time (VCT) หรือ Whole blood clotting time (WBCT)
คือ การเจาะเลือดผู้ป่วย 2 มิลลิลิตรใส่ในหลอดแกว้ที่สะอาดตั้งทิ้งไวที่อุณหภูมิห้อง20 นาทีแลว้มาดูว่าเลือดมีการแข็งตวัหรือไม่การตรวจนี้นำ ช่วยในกรณีที่ผู้ป่วยสงสัยถูกงูที่มีพิษ ต่อระบบเลือด ไดแก่งูเขียวหางไหม้งูกะปะงูแมวเซา หากตรวจพบว่า ค่า VCT หรือ WBCT นานกวา่ 20 นาทีผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการรักษาดว้ยเซรุ่มต้านพิษงู
Malaria thin film and thick film
โรคไข้มาลาเรียคือโรคติดเชื้อที่เกิดจากเช้ือโปรโตซวัในกลุ่มพลาสโมเดียม (Plasmodium spp.) ซึ่งสามารถเข้าสู่ร่างกายไดโ้ดยการกัดของยุงก้นปล่อง (Anopheles spp.) อาการที่พบได้ บ่อยที่สุด คือไข้โดยไข้มักจะเป็นเวลา ร่วมกับอาการหนาวสั่น เหงื่อออก ปวดศีรษะอ่อนเพลีย 8 ไม่มีเรี่ยวแรงไม่สบายในท้อง (ปวดท้อง) ปวดกลา้มเนื้อและข้อ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
การตรวจทางจุลทรรศนศาสตร์คลินิก(Clinical microscopy)
Urine analysis
Urine protein
คือ การตรวจหาโปรตีนที่รั่วออกมาในปัสสาวะ
Urine sugar
คือการตรวจหาน้ำตาลที่รั่วออกมาในปัสสาวะ
White blood cell
คือการตรวจปริมาณเม็ดเลือดขาวในปัสสาวะค่าปกติคือพบน้อยกว่า 5 cell/HPF ถ้าตรวจพบมากกวา่ 5-10 cell/HPF ในผู้ชาย หรือ มากกวา่ 10 cell ในเพศ หญิง จะบ่งบอกถึงการอักเสบหรือการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
Red blood cell
คือการตรวจปริมาณเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะค่าปกติคือพบนอ้ยกวา่ 3 cell/HPF ถ้าตรวจพบมากกวา่ 3-5 cell/HPF จะบ่งบอกถึงอาจมีภาวะการติดเชื้อใน ระบบทางเดินปัสสาวะ
Squamous epithelium
คือเซลลเ์ยื่อบุทางเดินปัสสาวะส่วนล่างค่าปกติคือน้อยกว่า 5 cell/HPF ถา้หากตรวจพบมากกว่า 5-10 cell/HPF จะบ่งบอกถึงการปนเปื้อนจากการ เก็บปัสสาวะที่ไม่ถูกตอ้ง
Bacteria
คือการตรวจหาปริมาณแบคทีเรียในปัสสาวะ
Stool exam
White blood cell
คือการตรวจปริมาณเม็ดเลือดขาวในอุจจาระค่าปกติ0-2 cell/HPF หากตรวจพบเม็ดเลือดขาวมากกวา่ 3-5 cell/HPF จะบ่งบอกถึงมีภาวะการอักเสบหรือ ติดเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดินอาหาร
Red blood cell
คือการตรวจปริมาณเม็ดเลือดแดงในอุจจาระค่าปกติ0-2 cell/HPF หาก ตรวจพบเม็ดเลือดแดงในอุจจาระอาจบ่งบอกถึงการติดเช้ือในระบบทางเดินอาหาร (Dysentery) มีเลือดออกในทางเดินอาหาร หรือมีเน้ืองอกในทางเดินอาหาร
Oval and Parasite
คือการตรวจพยาธิและโปรโตซัวในอุจจาระค่าปกติคือไม่ควรพบ
Stool occult blood
เป็นวิธีตรวจหาภาวะเลือดออกปริมาณน้อยๆในทางเดินอาหาร
การตรวจทางจุลชีววิทยาคลินิก(Clinical microbiology)
Gram stain
เป็นการตรวจหาเชื้อแบคทีเรียด้วยการย้อมสีแกรม โดยแบคทีเรียชนิด Gram positive จะย้อมติสีน้ำเงินม่วงและแบคทีเรียชนิด Gram negative จะย้อมติดสีแดง
Wet smear
เป็นการตรวจโดยใช้ normal saline หยดลงสไลด้แล้วปิดส่องใต้กล้องจุลทรรศน์จะตรวจในสิ่งส่งตรวจเช่น ตกขาว เป็นต้น
KOH
หาเชื้อรา
Acid fast stain
เป็นการย้อมสีแบคทีเรียทนกรด (acid-fast bacteria) ไดแ้ก่แบคทีเรียในสกุล Mycobacterium เช่น Mycobacterium tuberculosis ที่เป็นสาเหตุของโรควัณโรคและเชื้อ M. leprae ที่เป็ นสาเหตุ ของโรคเรื้อน
การตรวจทางภูมิคุ้มกันวิทยาคลินิก(Clinical immunology)
Venereal Disease Research Laboratory (VDRL)
การตรวจหาโรค syphilis ทำได้โดยการตรวจ VDRL หรือ RPR ซึ่งเป็นการตรวจเพื่อหาภูมิคุม้กนั ซ่ึงไม่เฉพาะเจาะจงต่อเช้ือซิฟิลิส หากให้ผลบวก จำเป็นต้องทำการตรวจเพื่อยืนยันด้วยการตรวจ TPHA หรือ FTA-ABS
Hepatitis profile
HBs Ag
positiveจะแสดงว่า การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดบี
Anti-HBs
positive แสดงว่า มีภูมิคุ้มกันต่อไวรัสตับอักเสบชนิดบี
Anti-HBc
positive แสดงว่า เคยได้ร้ับเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดบีมาก่อน
HBeAg
บ่งบอกวา่ กำลังมีการแบ่งตัวของไวรัสเกิดขึ้นในร่างกาย
Anti-HCV
positiveจะแสดงว่า การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดซี
Leptospira antibody
ตรวจหา antibody ต่อเชื้อleptospira
Scrub typhus antibody
โรค scrub typhus หรือไขร้ากสาดใหญ่ เกิดจากเชื้อ Orientia tsutsugamushi โดยที่โดนตัวไร อ่อนกดั (Chigger mite) ซึี่งตัวไรอ่อนนี้จะชอบอาศัยอยู่ตามทุ่งหญา้ป่าละเมาะและพุ่มไมเ้ตียๆ
Dengue NS1Ag and IgM/IgG
กรณีผู้ป่วยที่มีไ
ข้น้อยกว่าหรือเท่ากับ 3 วัน
ควรตรวจ tourniquet test หากให้ผลบวกจากนั้น ส่ง ตรวจ CBC แล้วพบว่า WBC น้อยกว่า 10,000 mm3 อาจพิจารณาส่งตรวจเพื่อยืนยันการวนิจฉัยด้วย Dengue NS1Ag
ในกรณีผู้ป่วยที่มีไข้
4 –10วัน
พจิารณาส่งตรวจ CBC หากพบวา่ WBC นอ้ยกวา่ 5,000 mm3 ร่วมกับเกล็ดเลือดน้อยกว่า 140,000 /mm3 และพิจารณาส่งตรวจเพื่อยืนยันการวินิจฉัยด้วย Dengue IgM/IgG