Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจร่างกาย (Physical Examination ) - Coggle Diagram
การตรวจร่างกาย (Physical Examination )
การตรวจตา :check:
กรณีผิดปกติ
ตามองไม่เห็นหรือไม่ชัด
ตามัว
เปลือกตาบนปิดไม่สนิท
หนังตาตก ( Ptosis )
เปิดเปลือกตาล่างดูภาวะซีด
ตาโปน ( Exophthalmos )
มีตาเหล่
หางตาชี้
ตรวจความใสของกระจกตา
กระจกตาขุ่น
มีแผลเป็น
มีติ่งหรือก้อนเนื้อจากตาขาวยื่นเข้ามาในม่านตาที่เรียกว่าต้อเนื้อ (Pterigium)
Pupils ปกติขนาด 2-6 มิลลิเมตร
ภาวะผิดปกติ
รูม่านตาขนาดเล็กมากที่เรียกว่า Pin point
ขยายเต็มที่ที่เรียก Fully dilate
รูม่านตาทั้ง 2 ไม่ท่ากัน
ไม่มีปฏิกิริยาต่อแสง (No react to light)
มีปฏิกิริยาต่อแสงช้า (Slightly react to light)
เมื่อส่องไฟจะมีเงาทึบขวางแสงเรียกต้อกระจก (cataract)
Sclera ตาขาวมีสีเหลือง มีสีแดงจัดหรือเส้นเลือดฝอยจำนวนมากเกิน หรือ subconjunctival
hemorrhage
Conjunctiva ผิดปกติ เช่น ภาวะซีด การอักเสบ ภูมิแพ้
การตรวจหู :check:
การดู
ใบหูสูงหรือต่ำกว่าระดับมุมตาซึ่งพบในผู้มีปัญหาทางสมอง
ใบหูเล็กเกินอาจมีผลต่อการได้ยิน เยื่อบุ
ในรูหูบวมแดง
มีสิ่งแปลกปลอมหรือขี้หูมาก
เยื่อแก้วหูมีสีชมพูอมแดงหรือเหลืองขุ่น
ไม่สะท้อนแสง อาจพบ impact cerumen
การคลำ
มีอาการกดเจ็บ
มีก้อน
มีตุ่มหรือรอยโรค
การตรวจจมูกและโพรงอากาศ :check:
การดู
ปีกจมูกทั้งสองข้างไม่เท่ากัน
บวมแดง
หุบบานมากเกินขณะหายใจ
เยื่อบุบวมแดง
มีแผล
มีสิ่งคัดหลั่งเขียวหรือผิดปกติ
มีเลือดออกมองเห็น Turbinate ชัดเจนและแดง
ผนังกั้นจมูกเอียงหรือคด
การคลำ
กดเจ็บ
การตรวจปากและช่องปาก :check:
การดู
ริมฝีปากคล้ำเขียวหรือซีดมาก บวมแดง
มีแผลหรือมีตุ่ม
เยื่อบุช่องปากซีด
เหงือกสีซีด บวม แดงหรือผิดปกติ
มีแผลหรือร่นจนเห็นคอฟัน
ลิ้นแตก เลี่ยน ลิ้นแดง มีฝ้าขาว ฟันผุมีหินปูนเกาะ
ฟันหลอหรือผิดปกติ
ลิ้นไก่ไม่อยู่ตรงกลาง
ทอลชิลโตบวมแดง มีหนอง
ผนังคอแดง มีตุ่ม มีแผลหรือสิ่งคัดหลั่งผิดปกติ
การตรวจคอ :check:
การดู
คอเอียง
คอแข็ง
ไม่สามารถก้มเอียงคอหมุนคอ
แหงนหน้าไม่ได้
ต่อม thyroid โต
เส้นเลือดดำที่คอโป้งพอง ระยะสูงจาก sternal angle มากกว่า 3 ชม.
การคล่ำ
หลอดลมจะเฉ เอียง ไปข้างใดข้างหนึ่ง
คลำต่อม thyroid พบก้อนโต ผิวไม่เรียบ
คลำต่อมน้ำเหลือง ที่หน้าหู หลังหู ใต้คาง ใต้ขากรรไก กระดูกไหปลาร้า โต บวม กดเจ็บ
คลำต่อมน้ำลาย ( parotid gland , submaxillary gland , sublingual gland) โต บวม กดเจ็บ
การตรวจทรวงอก :check:
การดู
รูปร่างของทรวงอกที่ผิดปกติ
Kpyhosis หรือหลังโกง กระดูกสันหลังโค้งโก่งขึ้นมา Scoliosisหรือหลังคด
กระดูกสันหลังคดเอียงไปด้านข้าง Pigeon chest หรืออกนน Funnel chest หรืออกบุ๋มBarrel shape หรืออกถังเบียร์ สัดส่วนระหว่าง AP diameter กับ Lateral diameter เป็น 1:1, ขนาด
ของทรวงอกไม่เท่ากันช่องซี่โครงแคบหรือกว้าง
การเคลื่อนไหวของทรวงไม่สัมพันธ์กับการหายใจ หรือไม่เท่ากัน
ถ้าผู้ป่วยโรคตับบเรื้อรัง จะพบ spider nevi ที่หน้าอก
การคลำ
ความรู้สึกถูกดันขยายขณะหายใจของมือทั้งสองข้างไม่เท่ากัน
นิ้วหัวแม่มือเคลื่อนแยกไม่เท่ากัน
คลำได้ Tactile fremitus ลดลงหรือเพิ่มขึ้น
การเคาะ
การเคาะทรวงอกจะเปรียบเทียบเสียงที่เกิดจากการเคาะ (Percussion note) บนทรวงอก(ปอด) ทั้งสองข้างเพื่อประเมินสภาพปอดที่อยู่ภายใน ลักษณะเสียงปกติจะพบเสียง resonance
การฟัง
Crepitation หรือ Crackle
ได้ยินขณะหายใจเข้าเสียงไม่ต่อเนื่องได้ยินช่วงสั้นและเป็นเสียงสูงเกิดจากอากาศผ่านน้ำเมือกในหลอดลมฝอยและถุงลม น้ำเมือกทำให้ถุงลมแฟบขณะหายใจออก เวลาหายใจเข้าอากาศจะไปตันถุงลมให้พองออกเกิดเป็นเสียง crepitation แบ่งเป็น fine crepitation ลักษณะเสียงเบา เป็นเสี่ยสูง และระยะเสียงสั้นมากเกิดในระยะท้ายของการหายไจเข้ coarse 'crepitationลักษณะเสียงค่อนข้างดังเป็นเสียงตำแลระยะเสียงยาวขึ้นเกิดในระยะแรกของกการหายใจเข้า
Wheezing
ได้ยินทั้งช่วงหายใจเข้าและออก ลักษณะเสียงจะต่อเนื่อง (continuous) เป็นเสียงสูง มีเสียงสูงต่ำ เป็น musical sound คล้ายเสียงนกหวีดหรือเสียงผิวปาก เกิดจากอากาศผ่านหลอดลมเล็กที่ตีบแคบ และมีน้ำเมือกหรือ exudates เกาะขวางอยู่เป็นแห่ง ๆ
Rhonchi
ได้ยินทั้งช่วงหายใจเข้าและออกแต่จะได้ยินชัดขณะหายใจออกเสียงจะต่อเนื่อง(continuous) ได้ยินช่วงยาวและเป็นเสียงต่ำ เกิดจากอากาศผ่านหลอดลมใหญ่ที่ตีบแคบ และมีน้ำเมือกหรือexudates ขวางอยู่เป็นระยะ ๆ
Pleural friction rub
ได้ยินทั้งเสียหายใจเข้และอก ลักษณะเสียงคล้ายการดูดและเสียงนี้จะไม่เปลี่ยนแปลงเวลาไอ เกิดจากกรเสียดสีของเยื่อหุ้มปอดที่อักเสบ
Diminished breath sound เสียงหายใจเบากว่าปกติ
การตรวจอวัยวะเพศ
เพศหญิง
การดู
ถ้ามีการติดเชื้อ Candid จะมีตกขาวเป็นก้อน มีอาการคัน เป็นผืนแดง ไม่มีกลิ่น
ถ้าติดเชื้อแบคทีเรีย จะตกขาวสีเทา เขียว มีกลิ่นเหม็น
เพศชาย
ถ้าผิดปกติอัณฑะจะไม่อยู่ในถุง(เกิดไส้เลื่อน) ถ้าอักเสบเรื้อรังจะแข็งมากขึ้น
"การตรวจไส้เลื่อนที่ขาหนีบ โดยดูบริเวณ lnquinal และ Femora ว่าปังตึงหรือไม่ ให้ผู้ป่วยแบ่งหนำท้อง
เพื่อดูการโป้งนูน
*การคล่ำ ผู้ตรวจนั่ง ผู้ป่วยยืน ใช้มือขวาดลำตรวจไส้เลื่อนค้นขวา มือซ้ายตรวจไส้เลื่อนด้านซ้าย ใช้นิ้วชี้ดัน
ขึ้นไปตาม Spermatic cord ผ่านทาง External inquinal ring ปกติจะสอดนิ้วไม่ได้ ถ้านิ้วผ่านได้ แสดงว่า ring ใหญ่กว่าปกติ ขณะนิ้วอยู่ที่ ring ให้ผู้ป่วยบ่ง หรือไอ สังเกตว่ามีก้อนมากระทบปลายนิ้ว หรือไม่