Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาสุขภาพในระบบทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์ - Coggle Diagram
ปัญหาสุขภาพในระบบทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์
อาการนำที่พบบ่อย
ปัสสาวะน้อยหรือไม่ออก
ปัสสาวะเป็นเลือด
อาการปัสสาวะบ่อย
ปวดสีข้าง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การส่งตรวจเลือด BUN,Cr,CBC,Calcium และ Phosphate
การตรวจพิเศษ เช่น Ultrasound, renal scan, Intravenous pyelogram (IVP), Plain KUB
cystoscope และ CT
การส่งตรวจปัสสาวะ U/A, U/C
ปัสสาวะบ่อย (Frequent urination)
จำนวนครั้งของปัสสาวะมากกว่าค่าปกติ
เด็กเล็กปัสสาวะปกติ 8-14 ครั้ง
เด็กโต 6-12 ครั้ง
ผู้ใหญ่ 4-6 ครั้งต่อวัน
กลางวันปัสสาวะบ่อยมากกว่าทุก 2 ชม.
ตื่นมาปัสสาวะตอนกลางคืน (nocturia)
ในตอนกลางคืนคนปกติจะตื่นมาปัสสาวะไม่เกินคืนละ 1 ครั้ง
ปัสสาวะบ่อยร่วมกับปริมาณปัสสาวะปกติ
มีลักษณะกะปริดกะปรอย
สาเหตุ
โรคของกล้ามเนื้อหูรูดกระเพาะปัสสาวะไว
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
โรคที่มีการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะส่วนล่างทำให้ปัสสาวะออกไม่หมด
ปัสสาวะบ่อยร่วมกับปริมาณปัสสาวะมากกว่าปกติ
เกิน 3 ลิตรต่อวัน หรือ polyuria
พบในโรคเบาหวาน เบาจืด และการดื่มน้ำมากเกินไป
กลั้นปัสสาวะไม่ได้ (Urinary incontinence)
ผู้ป่วยที่มีอาการเพ้อสับสน (Delirium)
การติดเชื้อของกระเพาะปัสสาวะ
ผู้หญิงที่มีปัญหาท่อปัสสาวะหรือช่องคลอดแห้งจากการขาดฮอร์โมน
ปัสสาวะลำบาก (Dysuria, Painful urination)
การอักเสบที่ผนังเยื่อบุกระเพาะปัสสาวะหรือท่อปัสสาวะ
Non-inflammatory
urethral stricture
ยาบางชนิด
atrophic vaginitis
bladder cancer
อุบัติเหตุ
Inflammation
โรคติดเชื้อ UTI
ท่อปัสสาวะอักเสบ (urethritis)
โรคที่มีการอักเสบของผิวหนังบริเวณ perineum
Non-infectious diseases ได้แก่ นิ่ว (stone/calculi)
ปัสสาวะน้อยหรือไม่ออก
Oliguria
ภาวะที่ผู้ป่วยมีปริมาณปัสสาวะออกน้อยกว่า 400 ซีซี/วัน (< 20 ซีซี/ชั่วโมง หรือ น้อยกว่า 0.5 มล./กก./ชม.) ติดต่อกันเป็นระยะเวลา 6 ชั่วโมง
Anuria
ขับปัสสาวะน้อยกว่า 100 ซีซี/วัน
ปัสสาวะไม่ออก (Acute Urinary Retention: AUR)
ปัสสาวะน้อย
กว่า 100 ซีซี/วัน (< 5 ซีซี/ชั่วโมง)
คลำพบว่าบริเวณท้องน้อยโป่งตึง (Full bladder)
แนวทาง การซักประวัติ
Renal cause เกิดจากพยาธิสภาพของไตโดยตรง
การซักประวัติ : ประวัติบวม ปัสสาวะเป็นฟอง ปัสสาวะเป็นเลือด
Post-renal เกิดจากการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะทำให้การทำงานของไตเสียไป
ประวัติปัสสาวะขัด ไม่พุ่ง ปวดปัสสาวะแต่ปัสสาวะไม่ออก ปัสสาวะเป็นเลือด ประวัตินิ่ว
มี full bladder ให้สวนปัสสาวะและคาสายสวนไว้ ,ตรวจ ultrasonography
Pre-renal cause เกิดจากการที่เลือดไปเลี้ยงไตลดลง ปริมาณปัสสาวะจึงลดลง
ประวัติอาเจียน ท้องร่วง หรือได้รับยาขับปัสสาวะ หอบเหนื่อย นอนราบไม่ได้ อาการแสดงของ volume depletion หรือ อาการแสดงของ heart failure
การรักษา : แก้ภาวะ hypovolemia โดยให้ Normal saline หรือเลือด ขึ้นกับลักษณะสารน้ำที่ผู้ป่วยขาด
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียกลุ่มแกรมลบ เช่น อีโคไล (E.coli)
ปัสสาวะกะปริดกะปรอย ปวดขัดหรือแสบร้อนเวลาถ่ายปัสสาวะ ปัสสาวะอาจมีกลิ่นเหม็น สีมักจะใส
การรักษา ขณะที่มีอาการให้ดื่มน้ำมาก ๆ ถ้าปวดให้ยาแก้ปวดและให้ยาปฏิชีวนะ
กรวยไตอักเสบ (Pyelonephritis)
กรวยไตอักเสบเรื้อรัง (Chronic Pyelonephritis)
ตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ เอ็กซเรย์ และตรวจพิเศษอื่น ๆ เพื่อหาความผิดปกติ ถ้าพบอาจต้องผ่าตัดแก้ไข หรือให้ยาปฏิชีวนะ ติดตามดูอาการ
กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน (Acute Pyelonephritis)
ติดเชื้อแบคทีเรียบริเวณกรวยไต เนื่องจากมีการอุดกั้นหรือมีความผิดปกติของทางเดินปัสสาวะ
ถ้ามีการอักเสบของกรวยไตนาน เกิดภาวะไตวายเรื้อรัง มีซีด อ่อนเพลีย ความดันโลหิตสูง
ปัสสาวะเป็นเลือด (Hematuria)
Macroscopic ปัสสาวะเป็นเลือดที่เห็นด้วยตาเปล่า ซึ่งจะเห็นปัสสาวะเป็นสีแดงสด สีน้ำล้างเนื้อหรือสีชมพู
Microscopic Hematuria ปัสสาวะเป็นเลือดที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า พบเม็ดเลือดแดงมากกว่า 3 ตัว/High Power Field (HPF) ในปัสสาวะที่ปั่นแล้ว
Initial hematuria ปัสสาวะมีเลือดปนช่วงต้นของการปัสสาวะ บ่งชี้ถึงพยาธิสภาพอยู่ที่ท่อปัสสาวะ (urethra)
Terminal hematuria ปัสสาวะเป็นเลือดออกช่วงท้ายของการปัสสาวะ บ่งชี้ถึงพยาธิสภาพอยู่ที่บริเวณ bladder หรือ ทางเดินท่อปัสสาวะเพศชายส่วนหลัง (posterior urethra)
Total hematuria ปัสสาวะเป็นเลือดเท่ากันตลอดทั้งการปัสสาวะ (homogenous) บ่งชี้ถึงพยาธิสภาพอยู่ที่ไต ท่อไต (ureter) หรือกระเพาะปัสสาวะที่มีเลือดออกมาก
กลุ่มอาการปัสสาวะเป็นเลือด
หน่วยไตอักเสบเฉียบพลัน (Acute glomerulonephritis/AGN)
บวม (edema)
กลุ่มอาการบวม
โรคไตเนโฟรติก (Nephrotic syndrome)
อาการ : บวมทั้งตัว (หน้า หนังตา ท้องและเท้าทั้ง 2 ข้าง) มักจะค่อย ๆ เกิดเพิ่มทีละน้อย อาจสังเกตเห็นหนังตาบวมชัดเจนเวลาตื่นนอน ปัสสาวะสีใสเหมือนปกติ แต่ออกน้อยกว่าปกติ
การรักษา : รักษาตามสาเหตุ เช่น ให้ยาปฏิชีวนะรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย งดยาที่แพ้ รายที่ไม่ทราบสาเหตุชัดเจน มักจะให้สเตียรอยด์ เช่น Prednisolone และนัดไปตรวจเลือดและปัสสาวะ
ภาวะไตวาย (Renal Failure)
ภาวะที่เนื้อไตทั้ง 2 ข้างถูกทำลายจนทำงานไม่ได้/ได้น้อยกว่าปกติ เกิดผลกระทบต่อภาวะสมดุลของอิเล็กโทรไลต์และความเป็นกรดด่างในเลือด
สาเหตุ
แรงดัน Oncotic ลดลง (อัลบูมินในเลือดลดลง)
ท่อน้ำเหลืองอุดตัน
มีการเพิ่มของแรงดันระบบหลอดเลือดดำ
การอักเสบ
มีการคั่งของน้ำและเกลือ
ปวดสีข้าง ปวดหลังบริเวณเอว
ปวดบริเวณเอวค่อนไปทางด้านหลัง (Flank) บางครั้งอาจจะร้าวมาบริเวณกลางหน้าท้องได้ อาการปวดเกิดขึ้นจากมีการยืดตัวของ renal capsule
นิ่วในไต (Renal calculus/Kidney stone)
ปวดเอว ปวดหลังข้างใดข้างหนึ่ง ปวดแบบเสียด ๆ หรือปวดบิดเป็นพัก ๆ อาจมีคลื่นไส้อาเจียน ปัสสาวะอาจขุ่นแดงหรือมีเม็ดทราย
นิ่วก้อนเล็กอาจหลุดออกมาได้เอง แต่ถ้าก้อนใหญ่อาจต้องผ่าตัดเอาออก หรือใช้เครื่องสลายนิ่ว ถ้าปวดให้ยาแก้ปวด
นิ่วท่อไต (Ureteric stone/Ureteral stone)
ปวดท้องรุนแรง มีลักษณะปวดบิดเป็นพัก ๆ บริเวณท้องน้อยข้างใดข้างหนึ่งเพียงข้างเดียว ลักษณะเฉพาะของโรคนี้คือ มีอาการปวดมากจนมีเหงื่อออก มักปวดจนดิ้นไปมา หรือใช้มือกดไว้จะรู้สึกดีขึ้น
ถ้านิ่วก้อนเล็ก ก็จะให้แอนติสปาสโมดิกบรรเทาอาการปวดเช่นเดียวกัน แต่ถ้านิ่วก้อนใหญ่อาจต้องผ่าตัด หรือใช้เครื่องสลายนิ่ว
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ (Vesical calculus/Bladder stone)
มีอาการขัดเบา ปัสสาวะกะปริดกะปรอย ปวดเบ่งคล้ายว่ายังถ่ายไม่สุด
ใช้เครื่องมือคีบออกหรือผ่าตัด เมื่อหายแล้วส่วนใหญ่มักไม่เป็นซ้ำใหม่
ปัญหาสุขภาพในระบบสืบพันธุ์
ภาวะเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด
ประจำเดือน
ปริมาณเลือดที่ออกต่อรอบเดือนเฉลี่ยประมาณ 30 – 40 มล.
ประจำเดือนที่ผิดปกติ
มีระยะเว้นระหว่างรอบประจำเดือน ยาวนานกว่า 38 วัน
มีระยะเว้นระหว่างรอบประจำเดือน สั้นกว่า 24 วัน
มีระยะเวลานานกว่า 8 วัน
มีปริมาณมากกว่า 80 มล.ต่อรอบเดือน
Pelvic pain and Dysmenorrhea
ปวดท้องน้อย ปวดอุ้งเชิงกราน หรือปวดบริเวณกระดูกเชิงกราน
การวินิจฉัยแยกโรคที่มาด้วย Acute pelvic pain
อาการปวดที่เกิดจากระบบสืบพันธุ์
การตั้งครรภ์ผิดปกติ
การแตกของถุงน้ำ (cyst)
การบิดขั้วของปีกมดลูก
ปีกมดลูกอักเสบ (Salpingitis) และ Tobo-ovarian abscess
Myoma
Endometriosis
อาการปวดที่เกิดจากทางเดินอาหาร
Appendicitis
Intestinal obstruction
อาการปวดที่เกิดจากทางเดินปัสสาวะ
เกิดจากนิ่วในหลอดไต อาจจะมีปัสสาวะเป็นเลือด
อาการปวดประจำเดือน (dysmenorrhea)
การวินิจฉัยแยกโรคที่มาด้วย Chronic pelvic pain
ปวดท้องน้อยเรื้อรังที่เป็นมานานเกิน 6 เดือน
พบบ่อยคือ endometriosis และ adhesion
การวินิจฉัยแยกโรคและแนวทางการรักษาในโรคระบบสืบพันธุ์ที่พบบ่อย
โรคหนองใน (Gonorrhea)
ปัสสาวะขัด และมีหนอง
หนองในเทียม NSU,NGU
ผช. มีอาการแสบท่อปัสสาวะ ปัสสาวะขัด มีหนองไหลเป็นมูกใสหรือขุ่น ผญ. ตกขาว
ดียูบี (Dysfunction Uterine Bleeding/DUB)
มีเลือดคล้ายประจำเดือนออกมา/กระปริดกระปรอย ไม่มีปวดท้องร่วมด้วย เลือดอาจออกมาจนซีด
ซิฟิลิส (Syphilis)
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Treponema pallidum
4 ระยะ
ระยะที่ 2 secondary syphilis พบหลังระยะแรก 6-8 สัปดาห์ เชื้อเข้าต่อมน้ำเหลืองและเลือด กระจายทั่วร่างกาย อาจมีอาการอื่นร่วม เช่น ไข้ต่ำๆ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย
ระยะ latent phase (ระยะแฝง) ตรวจร่างกายทั่วไปปกติ แต่ตรวจเลือดด้วยวิธี VDRL หรือ RPR และยืนยันด้วย TPHA หรือ FTA-Abs ให้ผลบวก
ระยะที่ 1 primary syphilis หลังติดเชื้อ 10-90 วัน จะมีตุ่มเล็ก ๆ เท่าหัวเข็มหมุดที่อวัยวะเพศ
ระยะที่ 3 tertiary syphilis เกิดจากไม่ได้รับการรักษา/รักษาไม่ถูกวิธี
ต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia: BPH)
ปัสสาวะลำบาก ต้องออกแรงเบ่ง ปัสสาวะพุ่งไม่แรง
ท้องนอกมดลูก (Ectopic Pregnancy)
ประจำเดือนขาด มีเลือดออกกะปริดกะปรอย หรือมีเลือด ออกทางช่องคลอดที่หาสาเหตุไม่ได้ ปวดบริเวณท้องน้อย
การรักษา : ส่งต่อเพื่อรับการผ่าตัด
ตกขาว (Leukorrhea)
ตกขาวปกติ
ลักษณะคล้ายแป้งเปียก มีปริมาณไม่มาก ไม่เหม็น ไม่คัน และมีระดับความเป็นกรดด่างน้อยกว่า 4.5
ตกขาวผิดปกติ
มีลักษณะเป็นหนอง มูกปนหนอง หรือเป็นฟอง และมักมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น คัน แสบ
สาเหตุ
Bacterial vaginosis (BV)
Metronidazole 500 mg รั
2 % Clindamycin cream ทาในช่องคลอด
Trichomonas vaginalis(TV) เกิดจากการติดเชื้อโปรโตซัว
ตกขาวมีสีเขียวเป็นฟองและมีกลิ่นเหม็น
Metronidazole 500 mg
Vulvovaginal candidiasis (VVC)
ตกขาวมีลักษณะจำเพาะ คือ เหมือนแป้งเปียก (curd – like หรือ cottage cheese - like)
ยาที่ใช้ในช่องคลอด เช่น Clotrimazole 100 mg
อาการนำของระบบสืบพันธุ์ที่พบบ่อย เช่น คัน ตุ่ม แผล ตกขาว หนอง/เลือด
ซักประวัติ
การตรวจ: การตรวจภายใน ตรวจปัสสาวะ เพาะเชื้อ การตรวจพิเศษ