Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.3 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
4.3 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
Saline lock แทงเข็มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลายและคาเข็มที่หล่อด้วยสารต้านการแข็งตัวของเลือด เจือจาง เพื่อให้เป็นครั้งคราว
Piggy back IV Administration เป็นการให้สารน้ำขวดที่2 ซึ่งขนาดบรรจุ 25-250 มล. ต่อเข้ากับชุดให้สารน้ำขวดแรก
ในผู้ป่วยที่ต้องงดอาหารและน้ำดื่มโดยให้ยาที่ผสมเจือจางและหยดเข้าหลอดเลือดดำช้าๆรวมทั้งการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
เป็นการฝังอุปกรณ์ในการให้ของเหลวใต้ผิวหนัง โดยที่ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดำใหญ่
ผู้ป่วยต้องได้รับสารน้ำเป็นระยะๆ ไม่สามารถให้ทางหลอดเลือดส่วนปลายได้
ให้ในผู้ป่วยโรคเลือดเรื้อรัง
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่
ให้สารน้ำหรือของเหลวทาง Central line ทางหลอดเลือดดำใหญ่ๆ
ให้กับผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปาก
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ขั้นที่3 การวางแผน
วางแผนให้ผู้ป่วยได้รับตามหลัก Rights และหลัก SIMPlE ของ patient safety goals
ขั้นที่4 การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ต่อ Three ways กับ extention tude และมาต่อกับ blood set ปิด clamp
บีบ chamber ของ bloob set ให้เลือดลงครึ่งของกระเปาะ
ต่อ blood set กับ ขวดเลือด
เตรียมผิวหนังและให้แทงเข็มให้สาร
ดึงที่ปิดถุงเลือดออกและเช็ดด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
เก็บอุปกรณืทำความสะอาด
เตรียมอุปกรณ์และอธิบายผู้ป่วยก่อนให้
ลงบันทึกการพยาบาล
ตรวจสอบแผนการรักษา ตรวจสอบชื่อสกุล Rh.ของผู้ป่วย
ขั้นที่2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการให้เลือดและสารประกอบ
ขั้นที่5 ประเมินผล
ประเมินสัญญาณชีพ
ประเมินกิจกรรมพยาบาล
ประเมินอาการแทรกซ้อน
ประเมินคุณภาพการพยาบาล
ขั้นที่1 ประเมินสภาพผู้ป่วย
ความพร้อมในการรักษา
ความสะอาดสิ่งแวดล้อม
ความรู้สึกตัว
ตรวจสอบแผนการรักษา
การคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำ
สูตรการคำนวณอัตราการหยดของสารน้ำใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย (หยด/นาที)=จำนวน Sol.(มล/ชม.)*จำนวนหยดต่อมล./เวลา (นาที)
สูตรการคำนวณสารน้ำที่จะให้ใน1ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ใน1ชม.=ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้/จำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของน้ำในร่างกาย
การวางแผน
เพื่อไม่ให้เกิดหลอดเลือดดำที่อักเสบรุนแรงขึ้น
เพื่อลดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบลดลง
การปฎิบัติ
ประเมินอาการ
เปลี่ยนที่แทงเข็มใหม่
หยุดให้สารน้ำทันที
ข้อวินิจฉัย
ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำเป็นเวลานาน
การประเมิน
สารน้ำเข้าและออกมีความสมดุล
ดูอาการบวมผู้ป่วย
ประเมินภาวะสุขภาพ
ผู้ป่วยบอก
การสังเกต
ปัจจัยที่มีผลต่อการหยดของสารน้ำ
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นนมาก
สายให้สารน้ำมีความยาวมาก
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ
การผูกยึดบริเวณหลอดเลือดแน่นหรือตึงเกินไป
ความหนืดของสารน้ำ
การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวของผู้ป่วย
ระดับสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยที่มีการปรับเอง
การบันทึกสารน้ำเข้าออกร่างกาย
จำนวนน้ำที่ร่างกายได้รับ (Fluid intake)
ได้รับทางปาก
จำนวนน้ำที่ร่างกายขับออก (Fluid output)
สูญเสียออกนอกร่างกายต่างๆ
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
คนกรุ๊ป AB รับได้ทุกกรุ๊ป แต่ให้ได้เฉพาะ AB
คนกรุ๊ป A รับจากAและO แต่ให้ AกับAB
คนเลือดกรุ๊ป O รับได้จากOเท่านั้น แต่ให้ได้ทุกกรุ๊ป
คนกรุ๊ป B รับจาก B และO แต่ให้ BและAB
คนเลือดกรุ๊ป Rh-ve ต้องรับ Rh-ve เท่านั้น
อาการแทรกซ้อนจากการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
เกิดภูมิแพ้
การถ่ายทอดโรค
ไข้
การอุดตันจากฟองอากาศ
ปริมาตรการไหลเวียนของเลือดมากเกินไป
ภาวะสารซิเตรทเกินปกติ
เม็ดเลือดแดงสลายตัว
ภาวะโปแทสเซียมเกินปกติ
อาการแทรกซ้อนจากการได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดเฉพาะที่
การติดเชื้อเฉพาะที่ บวม แดง ร้อน บริเวณที่แทงเข็มอาจมีหนอง
หลอดเลือดดำอักเสบผิวหนังบริเวณที่แทงเข็มบวม
การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม
การพยาบาล
รายงานแพทย์
จับแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย
เปลี่ยนที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
ส่งหนองบริเวณที่แทงเข็มเฉพาะเชื้อ
ประคบด้วยความร้อนเปียก
หยุดให้สารน้ำ
การบวมเนื่องจากหลอดเลือดดำซึมออกหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด
การเกิดหนองในกระแสเลือด
ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป
การติดเชื้อในกระแสเลือด
การพยาบาล
เตรียมรถฉุกเฉิน
รายงานแพทย์
วัดอุณหภูมิ ความดันโลหิต ชีพจร การหายใจ
ส่งเลือดและหนองเฉพาะที่ไปเพาะเชื้อ
ให้การช่วยเหลือตามอาการ
ให้ยาปฎิชีวนะตามแผนการรักษา
เปลี่ยนขวดให้สารน้ำ กรณีผู้ป่วยแพ้หรือสารน้ำมีการติดเชื้อ
ดูแลให้ออกซิเจน
หยุดให้สารน้ำ
จัดท่านอนให้ผู้ป่วยให้เหมาะสม
การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การเลือกตำแหน่ง
ตรวจสอบบริเวณที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม
ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขาให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
ให้เริ่มต้นแทงเข็มให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน
หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่างๆ
เลือกหลอดเลือดดำจากแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัด
คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่จะให้
อุปกรณ์เครื่องใช้
ชุดให้สารน้ำ (IV Administation set)
เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย
ขวดสารน้ำ
สารแขวนขวดให้สารน้ำ ยางรัดแขน แผ่นโปร่งใสปิดตำแหน่งที่แทงเข็ม
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่3 การวางแผนให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์
ให้ยาบางชนิดที่ไม่สามารถดูดซึมทางระบบทางเดินอาหาร
รักษาสมดุลกรด-ด่าง ในร่างกาย
ให้สารน้ำเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ให้เป็นช่องทางในการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำ
ให้สารน้ำทดแทนน้ำที่สูญเสียจากร่างกาย
แก้ไขความดันโลหิต
เกณฑ์การประเมิน
ไม่พบอาการแทรกซ้อน
ปลอดภัยตามหลัก 6 Rights
ปลอดภัยตามหลัก SIMPLE
ขั้นตอนที่4 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
วิธีการให้สารน้ำ
เช็ดจุกยางที่ขวดด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ต่อ IV set กับ IV fluid
ดึงแผ่นโลหะที่ปิดสารน้ำ
ต่อ three ways กับ extension tude แล้วมาต่อกับ IV set
ล้างมือให้สะอาด
แขวน IV fluid เสาน้ำเกลือ ให้สูง1 ม.
บอกให้ผู้ป่วยทราบถึงวัตถุประสงค์
บีบ chamder ของ IV fluid ลงในกระเปาะประมาณครึ่งกระเปาะ
เตรียมเครื่องใช้อุปกรณ์
เตรียมผิวหนังและแทงเข็มให้สารน้ำ
เช็ดตำแหน่งที่จะแทงเข็มด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ตรึงผิวหนังตำแหน่งที่จะแทงเข็ม
สวมถุงมือที่สะอาดและ mask
เตรียม IV cath.(ท่อพลาสติก, เข็มเหล็ก)
ติดพลาสเตอร์ยึดสายเพื่อป้องกันการดึงรั้ง
ปรับอัตราหยดตามคำนวณ
วางก็อตปลอดเชื้อปิดที่เข็มแทงแล้วปิดด้วยพลาสเตอร์
รัด tourniquet เหนือตำแหน่งที่ต้องการแทงเข็ม
เก็บอุปกรณ์ทำความสะอาด
เลือกตำแหน่งที่จะแทง
ลงบันทึกทางการพยาบาล
ตรวจสอบคำสั่งการรักษาและเขียนชื่อผู้ป่วย
เครื่องใช้
extension tube
three ways
สำลีชุบแอลกอฮอล 70%
เสาน้ำเกลือ
tourniquet
พลาสเตอร์
IV set
แผ่นฉลากชื่อ
IV cath.
ถุงมือสะอาด
IV fluid
ขั้นตอนที่2 ขั้นวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่5 การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ประเมินผลกิจกรรมพยาบาล
ประเมินการปฎิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอน
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้
ประเมินคุณภาพการพยาบาล
ประเมินคุณภาพการให้บริการ
ประเมินคุณภาพการปฎิบัติ
ประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือด
ประเมินสภาพร่างกายและจิตใจผู้ป่วย
ประเมินความสุขสบายผู้ป่วย
ประเมินอาการแทรกซ้อนและอาการข้างเคียง
ประเมินความพึงพอใจผู้ป่วย
การหยุดให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
อุปกรณ์เครื่องใช้
พลาสเตอร์
ถุงมือชนิดใช้แล้วทิ้ง
สำลีปลอดเชื้อ
วิธีปฎิบัติ
ดึงเข็มที่ให้สารน้ำออกทางผิวหนัง
ใช้สำลีแห้งปลอดเชื้อกดทับตำแหน่งที่ดึงเข็มออก
สวมถุงมือ
เก็บชุดให้สารน้ำและเข็มที่แทงให้เรียบร้อย
แกะพลาสเตอร์ที่ปิดยึดหัวเข็ม
บันทึกทางการพยาบาล
ปิด clamp
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
ด้านจิตใจ
ความต้องการรับบริการ
ความวิตกกังวลและความกลัว
ความพร้อมของการรับบริการ
สิ่งแวดล้อม
ความเป็นระเบียบเรียบร้อย
ความพร้อมใช้ของสิ่งแวดล้อม
ความสะอาดรอบเตียง
อากาศถ่ายเท
ด้านร่างกาย
พยาธิสภาพของโรค
ประวัติการเจ็บป่วย
ระดับความรู้สึก
แผนการรักษา
ตรวจสอบแผนการรักษา
ตรวจสอบชนิดของสารน้ำ อุปกรณ์ที่รักษา
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ส่วนประกอบ
สารละลายไขมัน
โปรตีนอยู่ในกรดอะมิโน
คาร์ไฮเดรต
วิตามิน
เกลือแร่
น้ำ
ชนิด
Total parenteral nutrition(TPN) เป็นการให้โภชนาการบำบัดครบตามความต้องการของผู้ป่วย
Partial or peripheral nutrition(PPN) ให้โภชนาการบำบัดทางหลอดเลือดดำเพียงบางส่วน
ข้อบ่งชี้
ภาวะทางศัลยกรรม
ความผิดปกติของจิตใจ
โรคของอวัยวะต่างๆ
โรคมะเร็งต่างๆ
โรคทางเดินอาหาร
ตำแหน่ง
การให้ทางหลอดเลือดดำแขนง
การให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่
วัตถุประสงค์
ให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและน้ำทางปากไม่ได้
ทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป
อุปกรณ์
สายให้อาหารทางหลอดเลือดดำ
ชุดให้สารน้ำ
ขั้นตอน
ต่อสายยางให้อาหารเข้าไปในชุดให้อาหารและปิดผ้าก็อต
ตรวจสอบ PPN ต้องไม่ขุ่นหรือมีตะกอน
เตรียมอุปกรณ์ที่สะอาดปราศจากเชื้อ
มีป้ายติดที่ขวดให้สารอาหาร
ล้างมือ ใส่ mask
นำไปต่อกับผู้ป่วยเช็ดบริเวณรอยต่อด้วยสำลีชุบแอลกอฮลล์
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบเกี่ยวกับแผนการรักษา
ให้สารอาหารปรับจำนวนหยดตามแผนรักษา
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้นที่3 วางแผนการพยาบาล
ให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำตามแผนการรักษาและไม่เกิดอาการแทรกซ้อน
ขั้นที่4 ปฎิบัติการพยาบาล
ถ้าผู้ป่วยได้รับทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย ควรเปลี่ยนตำแหน่งให้ทุก3วัน
มีป้ายติดชื่อที่ขวด
ติดตามสัญญาณชีพทุก2-4 ชั่วโมง
สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับผู้ป่วย
ก่อนและให้ควรประเมินสภาพร่างกาย
หลีกเลี่ยงการให้ยาฉีดทางหลอดเลือดดำสายเดียว
ขั้นที่2 วินิจฉัยทางการพยาบาล
มีโอกาสเกิดสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือดจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำเป็นเวลานาน
เพื่อไม่ให้เกิดสิ่งแปลกปลอมในระบบไหลเวียนของเลือด
เพื่อไม่ให้เกิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบ
ขั้นที่5 ประเมิน
ประเมินร่างกายและจิตใจ
ประเมินคุณภาพการบริการ
ประเมินอาการแทรกซ้อน
ขั้นที่1 ประเมินสภาพผู้ป่วย
S:รู้สึกปากแห้ง อยากเคี้ยวอาหารทางปาก
O:Known case CA stomach S/P Subtotal gastrectomy
อาการแทรกซ้อนจากการได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
มีสิ่งแปลกปลอมเข้าไปอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด
ลักษณะที่พบ
อาการเขียวจากขาดออกซิเจน
อัตราการหยดมีการไหลช้าหรือหยุดไหล
การพยาบาลและป้องกัน
หยุดให้สารถ้าพบลิ่มเลือดที่เข็ม
ห้ามนวดคลึง
ระมัดระวังการเปลี่ยนขวดสารอาหาร
การให้สารอาหารมากเกินไป
การพยาบาล
ลักษณะ
ปริมาณน้ำเข้าน้ำออกไม่สมดุล
หลอดเลือดดำที่คอโป่ง
ชีพจรเร็ว
ปอดบวมน้ำ
ปวดศรีษะ หายใจตื้น
บวมจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง
ลักษณะที่พบ
การบวมอาจมองเห็นไม่ชัด อุณภูมิบริเวณนั้นจะเย็น
ผู้ป่วยรู้สึกไม่สุขภาพบริเวณที่ให้
การพยาบาลและป้องกัน
ถ้าพบสารอาหารซึมออกมาในเนื้อเยื่อให้หยุดให้สารอาหารทันที
ควรดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันสารอาหารซึมออกในเนื้อเยื่อ
ไข้
ลักษณะ
หนาวสั่น
ไข้สูง 37.3-41 องศา
ปวดหลัง
การพยาบาล
ตรวจดูรูรั่ว
บันทึกสัญญานชีพ รายงานแพทย์
หยุดให้สารอาหาร
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการบริหารยา
วัตถุประสงค์
ให้ยามีผลระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อ
ให้ยาที่ไม่สามารถให้ยาทางอื่นได้ผลต่อการรักษา
ให้ยาออกฤทธิ์เร็ว
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE
ขั้นที่4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ฉีดยาแบบที่3 Surg plug กับ piggy back(100ml)
ฉีดยาแบบที่4 Surg plug กับ Syringe IV push
ฉีดยาแบบที่5 three ways กับ piggy back(100ml)
ฉีดยาแบบที่6 three ways กับ syringe IV push
ฉีดยาแบบที่2 IV plug กับ syringe IV push
ฉีดแบบที่1 IV plug กับ piggy back(100 ml)
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
ใช้หลักการ 6 Rights และหลักความปลอดภัย SIMPLE
ขั้นตอนที่5 การประเมินผลการบริหารยา
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วย
ประเมินผลคุณภาพการบริการ
ประเมินผลบริหารยาฉีด
ขั้นตอนที่1การประเมินสภาพผู้ป่วย
ประเมินด้านจิตใจ
ประเมินสิ่งแวดล้อม
ประเมินด้านร่างกาย
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
Hypotonic solution
ออสโมลาริตี้ น้อยกว่า 280 m0sm/l
การให้สารน้ำชนิดนี้ต้องให้อย่างช้าๆเพื่อป้องกันการรบกวนของเซลล์
Hypertonic solution
ออสโมลาริตี้มากกว่า 310 m0sm/l
เกิดการดึงน้ำจากเซลล์สู่ระบบการไหลเวียน
Isotonic solution
เมื่อให้จะไม่มีการเคลื่อนที่ของน้ำเข้าหรือออกจากเซลล์ เป็นการช่วยปริมาตรน้ำที่อยู่ในเซลล์
ออสโมลาริตี้ ระหว่าง 280-310 m0sm/l