Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงของระบบอวัยวะสืบพันธ์ุ (Reproductive tract), 557000009010901…
การเปลี่ยนแปลงของระบบอวัยวะสืบพันธ์ุ (Reproductive tract)
มดลูก
การไหลเวียน
ช่วงแรก ไปที่กล้ามเนื้อมดลูก เยื่อบุโพรงมดลูก
ช่วงท้าย ไปที่มดลูก รก 450-650 ml/min, 20% ของเลือดที่ออกจากหัวใจจะส่งไปยังมดลูก
การไหลเวียนเลือดระหว่างมารดาและทารกจะเพิ่มขึ้นจากการขยายตัวของเส้นเลือดตอนอายุครรภ์ 20สัปดาห์ uterine artery จะขนาดโตขึ้นเป็น 2 เท่า
Doppler velocity เพิ่มขึ้น 8 เท่า ทำให้เลือดไหลเวียนได้เป็น 4 เท่าของรัศมีเส้นเลือด ตอนใกล้ครบกำหนดเลือดจะไหลเวียน 450-650 มล./นาที
การหดรัดตัว
หลังจาก 4 เดือน กล้ามเนื้อมดลูกจะมีการหดรัดตัวเป็นพักๆอย่างไม่สม่ำเสมอ เรียกว่า Braxton Hick's contraction
การเจริญเติบโต
ส่วนของ fundus หนาขึ้น จากนั้นจะบางลงและนุ่ม ปริมาตรจะเพิ่มขึ้น = 5,000 ml หนัก = 800-1,200 กรัม
20 week จะใหญ่จนถึงสะดือ และ 36 week จะใหญ่ถึงบริเวณ xyphoid
ส่วนล่างของมดลูกบางตัวลง จนกระทั่งศีรษะทารกเข้าสู่เชิงกราน มารดาจะรู้สึกว่าครรภ์มีขนาดเล็กลง หรือที่เรียกกันว่าท้องลด (Lightening)
ช่วงแรกมดลูกมีรูปร่างแบบลูกแพร์จากนั้นจะกลมขึ้นเมื่อ12 สัปดาห์จะเป็นspherical ต่อมาจะเพิ่มขนาดตามแนวยาวไปเร็วกว่าแนวกว้างและกลายเป็นรูปไข่ (ovoid)
การตรวจร่างกาย
Piskacek’s sign
มดลูกขยายใหญ่และนุ่มคลำได้จากการตรวจภายใน GA 12-16
Ladin’s sign
จุดที่เริ่มนุ่มเป็นแห่งแรก ตรงกลางทางด้านหน้าของมดลูกส่วนล่าง
Von Fernwald’s sign
ตำแหน่งของยอดมดลูกที่รกเกาะจะนุ่มและไม่สม่ำเสมอ GA 4-5
Hegar’s sign
มดลูกนุ่มมากทำให้แยกคอมดลูกออกจากตัวมดลูกได้ GA 6-8
ปากมดลูก
Chadwick ‘s sign ปากมดลูกมีสีคล้ำเนื่องจากมีเลือดมาเลี้ยงมาก
Goodell’s sign ปากมดลูกนุ่มคล้ายกับริมฝีปาก ในระยะครรภ์ 6-8 สัปดาห์
McDonald’s sign มดลูกปากมดลูกสามารถหักทำมุมกันได้
Mucus plug ป้องกันการติดเชื้อ เมื่อหลุดออกมาในระยะคลอดเรียกว่า Mucus show
หนาและนุ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ แต่ในระยะเวลาใกล้คลอด การเลื่อน ต่ำลงมาของส่วนนำทารกจะสร้างแรงกดบริเวณปากมดลูก กระตุ้นให้มีการหลั่งสารโพสตาแกลนดิน (prostaglandin) ทำให้ปากมดลูกนุ่มขึ้น ร่วมกับการหดรัดตัวของมดลูกส่วนบน (upper uterine segment) ในระหว่างการคลอดจะเกิดการดึงรั้งให้ส่วนล่าง (lower segment) มีการบางตัวลงและเกิดการขยายตัวของปากมดลูก (cervical dilatation) ตามลำดับ
รังไข่
Corpus luteum หลั่ง Progesterone จน 6-7 week
ไม่มีการตกไข่ เพราะ Progesteroneและ Estrogen อยู่ในระดับสูงเมื่อตั้งครรภ์ จึงยับยั้ง FHS,LH ทำงาน
จะมีขนาดใหญ่ขึ้น รังไข่จะไม่ตกไข่ตลอดการตั้งครรภ์ แต่รังไข่จะสร้าง human chorionic gonadotropin(hCG) และ relaxin ตลอดการตั้งครรภ์
Relaxin
หลั่งจากคอร์ปัสลูเตียม decidua และรก โดยจะหลั่งคล้าย hCG มีผลต่อ parturition, สำคัญต่อการเพิ่มขึ้นของการไหลเวียนเลือดที่ไต, ลด serum osmolarity, เพิ่ม uterine artery compliance
เต้านม
หัวนมใหญ่ขึ้นและมีสีเข้มขึ้น
Tubercals of Montgomery มีขนาดใหญ่ขึ้น
colostrum เริ่มผลิตใน 12-16 สัปดาห์ แต่ไม่มีน้ำนม
เต้านมระยะแรกหญิงตั้งครรภ์จะรู้สึกตึงและเจ็บคล้ายมีของแหลมๆเล็กๆมาแทงทำให้รู้สึกแปล๊ปๆ(prickling and sensation)
สัปดาห์ที่ 8 ขึ้นไปจะมีตุ่มเล็กๆประมาณ12-30 ตุ่มเกิดขึ้นบริเวณลานนมจากการขยายของต่อมไขมัน เรียกว่า Montgomery's tubercle ทำให้หัวนมอ่อนนุ่มและยืดหยุ่น
สาเหตุการเปลี่ยนแปลงของเต้านม
Estrogen
กระตุ้นให้มีการสร้างและเจริญ
ของท่อน้ำนม(duct)
ระยะแรกของการตั้งครรภ์** เต้านมขนาดใหญ่ขึ้น
Progesterone
กระตุ้นให้มีการสร้างและเจริญ
ของต่อมน้ำนม(aveola)
Prolactin
เพิ่มขึ้นขณะตั้งครรภ์ + เพิ่มสูงเมื่ออายุครรภ์ครบกำหนด
อายุครรภ์ 12-14 สัปดาห์ เริ่มมีน้ำใสๆคล้ายน้ำนมเหลือง(colostrum)
แต่ยังไม่ใช่ colostrum แท้จริง
ฮอร์โมน progesterone และ human placenta lactogen(hPL) ยับยั้งการทำงานของ prolactin
ไม่หลั่ง colostrum + น้ำนมจริง(true milk)
เมื่อสิ้นสุดการตั้งครรภ์
1 more item...
Vagina and vulva
เพิ่มหลอดเลือดและภาวะเลือดคั่ง
การหลั่งที่เพิ่มขึ้น
ช่องคลอดมีลักษณะสีม่วง
ความยาวที่เพิ่มขึ้นไปยังผนังช่องคลอด
การสะสมของpapillai ของเยื่อบุช่องคลอด
เชื้อราในช่องคลอดเกิดจากการที่มีไกลโคเจนเพิ่มในระดับสูง
vagina มีการยืดขยายของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ทำให้ผนังช่องคลอดหนาขึ้น ยาวขึ้น นุ่มลงมีเส้นเลือดมาเลี้ยงมากขึ้น ทำให้มีสีคล้ำเรียกว่า Chadwick’s sign จะผลิตสิ่งขับมากขึ้น