Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแทรกแซงเพื่อรักษาอาการ ท้องผูกในการตั้งครรภ์, สมาชิกกลุ่ม - Coggle…
การแทรกแซงเพื่อรักษาอาการ ท้องผูกในการตั้งครรภ์
พื้นหลัง
อาการท้องผูกเป็นอาการที่พบบ่อยในระหว่างตั้งครรภ์
คุณภาพชีวิตที่ลดลงและการรับรู้สุขภาพร่างกายกับโรคริดสีดวงทวาร
ความเข้าใจในประสิทธิภาพและความปลอดภัยของการรักษาอาการท้องผูกในการตั้งครรภ์เป็นสิ่งสำคัญสำหรับแพทย์ที่จัดการสตรีมีครรภ์
วัตถุประสงค์
เพื่อประเมินประสิทธิภาพและความปลอดภัยของการแทรกแซง (ใช้ยาและไม่ใช้ยา) สำหรับการรักษาอาการท้องผูกในการตั้งครรภ์
การรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้วิจัย 2 คนได้ทำการประเมินงานวิจัยอย่างเป็นอิสระเพื่อการรวบรวมและการประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดอคติ สกัดข้อมูลและตรวจสอบความถูกต้อง
ผลลัพธ์
หลักมีการศึกษา 4 งาน แต่มีเพียงงานวิจัย 2 งานที่มีผู้หญิงรวม 180 คนที่ให้ข้อมูล
ความเสี่ยงโดยรวมของอคติของการศึกษา 3 งานอยู่ในระดับปานกลาง 1 งานวิจัยว่ามีความเสี่ยงสูงต่ออคติ
ไม่มีการวิเคราะห์อภิมาน เนื่องจากข้อมูลไม่เพียงพอ
ไม่มีการระบุกลุ่มทดลองแบบสุ่มและมีการควบคุมสำหรับการรวบรวม
การเปรียบเทียบสำหรับ ยาระบายยากระตุ้นเทียบกับยาระบายเป็นกลุ่ม และการเสริมเส้นใยเมื่อเทียบกับไม่มีการไม่ทำอะไร
ในการตรวจสอบเราพบว่าการศึกษารายงานการเปลี่ยนแปลงอาการในรูปแบบที่แตกต่างกันไป
ในการเก็บข้อมูลทั้งหมดพบผลลัพธ์ใหม่ที่ไม่ได้มีการกำหนดไว้ล่วงหน้า
ยาระบายกระตุ้นเมื่อเทียบกับยาระบายเป็นกลุ่มจำนวนมาก
Stimulant laxatives versus bulk-forming laxatives
หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับยา Stimulant laxatives and bulk-forming laxatives ชาวยให้อาการท้องผูกดีขึ้น แต่ทำให้รู้สึกไม่สบายท้อง แต่ไม่ใช่อาการท้องเสีย
ยาระบายและยาเสริมเส้นใย ไม่ได้ใช้ในการรักษาอาการท้องผูกในหญิงตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร
ยาทั้ง 2 กลุ่ม จะมีความคล้ายกันจะแตกต่างกันในเรื่องความไม่สบายท้อง ได้รับการเสริมเส้นใยเมื่อเทียบกับไม่มีการแทรกแซงของหญิงตั้งครรภ์
Fibre supplementation versus no intervention
หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการเสริมใยมีความถี่ของอุจจาระสูงกว่าไม่มีการแทรกแซง
การเสริมเส้นใยทำให้อุจจาระที่ดีขึ้นโดยผู้ทดลอง
อุจจาระแข็งลดลง
อุจจาระปกติขึ้น
อุจจาระง่ายขึ้น
คุณภาพ
ประเมินผลลัพธ์ 5 อย่าง
การแก้ไขอาการท้องผูก
ความถี่ของอุจจาระ
อาการท้องเสีย
ความรู้สึกไม่สบายท้อง
ความพึงพอใจของผู้หญิง
ผลลัพธ์นี้ไม่มีข้อมูลประเมินความเจ็บปวดในการถ่ายอุจจาระหรือความมั่นคงของอุจจาระ
ข้อสรุปของผู้เขียน
เปรียบเทียบกับยาระบายที่สะสมจำนวนมากยาระบายกระตุ้นจะมีประสิทธิภาพในการปรับปรุงอาการท้องผูก แต่มีการเพิ่มขึ้นของอาการท้องเสียและความรู้สึกไม่สบายท้อง
การเสริมเส้นใยอาจเพิ่มความถี่ของอุจจาระเมื่อเทียบกับไม่มีการแทรกแซง ไม่มีข้อมูลสำหรับการเปรียบเทียบประเภทของการแทรกแซงอื่น ๆ จำเป็นต้องมีการทดลองแบบสุ่มและมีการควบคุมเพิ่มเติม เพื่อประเมินการแทรกแซงเพื่อรักษาอาการท้องผูกในการตั้งครรภ์
สิ่งเหล่านี้ควรครอบคลุมการตั้งค่าที่แตกต่างกันและประเมินประสิทธิภาพของการแทรกแซงต่าง ๆ ในการปรับปรุงอาการท้องผูก ปวดถ่ายอุจจาระ ความถี่อุจจาระและความเปลี่ยนแปลงของอุจจาระ
What is the issue?
อาการท้องผูกในระหว่างตั้งครรภ์
เกิดเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน
กิจกรรมทางกายลดลง
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ทารกเติบโตขึ้นยังสามารถกดลำไส้
Why is this important?
อาการท้องผูกทำให้คุณภาพชีวิตที่ลดลง
เกิดความทุกข์ของหญิงตั้งครรภ์
อาจเป็นริดสีดวงทวาร
บทวิเคราะห์นี้พิจารณาถึงประโยชน์ของการใช้ยาและไม่ใช้ยาเพื่อรักษาอาการท้องผูกในการตั้งครรภ์และดูว่าปลอดภัยสำหรับผู้หญิงและเด็กทารกหรือไม่
What evidence did we find?
เราระบุ 4 การศึกษา แต่มีเพียง 2 การศึกษา (มีผู้หญิงทั้งหมด 180 คน) ที่ให้ข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์
stimulant laxatives VS bulk-forming laxatives
ยา stimulant laxatives อาจเเก้อาการท้องผูก ดีกว่ายากลุ่ม bulk-forming laxatives
แต่อาจทำให้เกิดอาการไม่สบายท้องมากขึ้น และท้องร่วง
ไม่พบว่ามีความแตกต่างในความพึงพอใจของผู้หญิง
การเสริมใยอาหารเมื่อเทียบกับไม่มีการแทรกแซง
การแทรกแซงที่เรียกว่า Normax ไม่มีความแตกต่างระหว่างยา stimulant laxatives และยากลุ่ม bulk-forming laxatives ในแง่ของความรู้สึกไม่สบายท้องและท้องเสีย
การเปรียบเทียบครั้งที่สอง พบว่าการเสริมเส้นใยอาจมีประสิทธิภาพในการเพิ่มความถี่ของอุจจาระ
What does this mean?
มีหลักฐานเพียงเล็กน้อยที่ชี้ให้เห็นว่าการเสริมใยอาหารอาจเพิ่มความถี่ของอุจจาระ
ยา stimulant อาจบรรเทาอาการท้องผูกได้ดี แต่อาจทำให้รู้สึกไม่สบายท้องและท้องเสียมากขึ้น
จำเป็นต้องทำการวิจัยเพิ่มเติมในด้านนี้
ขั้นตอนการนำไปใช้
เพื่อประเมินประสิทธิผลและความปลอดภัยของการแทรกแซงสำหรับการรักษาอาการท้องผูกในการตั้งครรภ์
กลุ่มเป้าหมาย สตรีมีครรภ์
การพยาบาล
แนะนำให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารโดยการเคี้ยวอาหารให้ละเอียดและรับประทานอาหารที่ย่อยง่ายผักผลไม้ที่มีเส้นใยอาหารสูง
ประเมินภาวะท้องผูก เช่น แน่นท้อง หน้าท้องตึง ฟังการเคลื่อนไหวค่าปกติ4-6ครั้ง/นาที ไม่ขับถ่ายอุจจาระมากกว่า3วัน
ให้ยาระบายตามแผนการรักษาของแพทย์ และสังเกตผลข้างเคียงของยา
ดื่มน้ำวันละ 6-8 แก้วต่อวัน
แนะนำให้ออกกำลังกายเคลื่อนไหวร่างกาย
เพื่อป้องกันอาการท้องผูกในหญิงตั้งครรภ์
กลุ่มเป้าหมาย หญิงตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 3
การพยาบาล
แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์รับประทานอาหารที่มีกากใย
ดื่มน้ำมากๆ
การขับถ่ายให้เป็นเวลาโดยดูแลและให้คำแนะนำให้ถ่าย อุจจาระในเวลาเดียวกันหรือจามแบบแผนปกติทุกวัน
ออกกำลังตามความสามารถ เพิ่มการเคลื่อนไหวร่างกาย
เพื่อกระตุ้นให้ลำไส้ได้ทำงาน
เพื่อบรรเทาอาการท้องผูกในหญิงตั้งครรภ์
กลุ่มเป้าหมาย หญิงตั้งครรภ์ที่มีอาการ
การพยาบาล
รักษาด้วยเส้นใยหรือไฟเบอร์ มีสารที่มีคุณสมบัติในการดูดน้ำได้ดี อุจจาระจึงนิ่ม และถ่ายออกได้ง่าย
ยาระบายกลุ่มกระตุ้น ช่วยกระตุ้นจังหวะการบีบตัวของลำไส้ให้ทำงานดีขึ้น
ยาระบายกลุ่มออสโมซิส ช่วยออกฤทธิ์ดูดซึมน้ำกลับเข้าสู่ลำไส้ใหญ่มากขึ้น ทำให้อุจจาระไม่แห้งและแข็งจนถ่ายออกลำบาก
ยาช่วยหล่อลื่นอุจจาระ ยาเหน็บ และการสวนอุจจาระ
แนะนำให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร
สมาชิกกลุ่ม
นางสาว นฤมล วุฒิพงศ์วีรศักดิ์ รหัสนักศึกษา 61121301038
นางสาว วาริพินท์ ตึดสันโดษ รหัสนักศึกษา 61121301073
นางสาว สกุณา เชื้อมาก รหัสนักศึกษา 61121301085
นางสาว พิชญามน แสงสุวรรณ์ รหัสนักศึกษา 61121301054
นางสาว สุวิมล ปาลวัฒน์ รหัสนักศึกษา 61121301095
นางสาว อรวรรณ สวัสดี รหัสนักศึกษา 61121301101
นางสาว พัชรินทร์ แป้นทอง รหัสนักศึกษา 61121301053