Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสมุนไพร - Coggle Diagram
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสมุนไพร
ส่วนประกอบของพืชสมุนไพร
ใบ
ดอก
ลำต้น
ผล
ราก
คำแนะนำและการป้องกันอันตรายจากการใช้ยาสมุนไพร
ใช้ให้ถูกขนาด ขนาดยามีความสําคัญมาก เพราะถ้าใช้น้อยไปก็ไม่ได้ผล ใช้มากไปก็อาจจะเป็นพิษได้
ต้องใช้ให้ถูกวิธี ถ้าผิดวิธีอาจเกิดพิษ เช่น ใบชุมเห็ดเทศใช้เป็นยาระบาย ต้องปิ้งไฟก่อนนําไปชงน้ำ
ต้องใช้สมุนไพรให้ถูกส่วน หรือถูกอายุ เช่น ผลฝรั่ง ใช้รับประทานรักษาอาการท้องเดิน ผลฝรั่งสุกเป็นยาระบาย
การใช้ยาครั้งแรก ไม่ว่ายานั้นจะเป็นยาภายนอกหรือยารับประทาน ให้ทดลองใช้แต่น้อยก่อน
ศึกษาใช้ยาสมุนไพรให้ถูกชนิด เพราะยาสมุนไพรมีชื่อท้องถิ่นแตกต่างกัน และยังมีชื่อพ้องและซ้ําอีกคือสมุนไพรชื่อเดียวกันแต่เป็นคนละชนิด
การรับประทานยาสมุนไพรนี้ ไม่ควรรับประทานติดต่อกันเป็นเวลานานๆ โดยปกติรับประทานยา 2 -3 วัน อาการไม่ดีขึ้นควรปรึกษาแพทย์แผนโบราณ
ต้องได้รับการวินิจฉัยโรคที่ถูกต้องเสียก่อน ให้รู้ว่าเป็นโรคอะไรจะได้เลือกใช้ยา ให้ถูกกับโรค ถ้ายาใดไม่เคยกินมาก่อนเลย ควรเริ่มกินในขนาดน้อยๆ ก่อน รอดูว่ามีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้นในร่างกายหรือไม่
อาการแพ้ที่อาจพบได้จากการใช้ยาสมุนไพร
ประสาทรับความรู้สึกทำงานไวเกินปกติ เช่น เพียงแตะผิวหนังก็รู้สึกเจ็บ ฯลฯ
ใจสั่น ใจเต้น หรือรู้สึกวูบวาบคล้ายหัวใจจะหยุดเต้น และเป็นบ่อยๆ
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน (หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง)
ตัวเหลือง ตาเหลือง ปัสสาวะเหลือง เขย่าเกิดฟองสีเหลือง(เป็นอาการดีซ่าน) อาการนี่แสดงถึงอันตรายร้ายแรง
ผื่นขึ้นตามผิวหนังอาจเป็นตุ่มเล็กๆ ตุ่มโตๆ เป็นปื้นเป็นเม็ดแบนอาจบวมที่ตาหรือริมฝีปาก
อาการเจ็บป่วยและโรคที่ไม่ควรใช้สมุนไพรรักษา
อาเจียน หรือ ไอ มีเลือดออกมาด้วย ควรนําส่งโรงพยาบาลโดยด่วน
ท้องเดินอย่างแรง ถ่ายเป็นน้ำ บางที่เหมือนน้ำซาวข้าว บางที่พุ่งออกมา ถ่ายติดติดกัน อ่อนเพลียมากตาลึก ผิวแห้ง
เจ็บแปลบๆ ในท้อง ปวดท้องรุนแรง อาจมีตัวร้อน คลื่นไส้อาเจียนด้วย บางที่เคยปวดท้องบ่อยๆ แต่เพิ่งมาปวดแรงตอนนี้
ถ่ายอุจจาระเป็นมูกเลือด บางทีเกือบไม่มีเนื้ออุจจาระเลย ถ่ายบ่อย อาจถึง 10 ครั้งใน 1 ชั่วโมงและเพลียมาก
ปวดท้องแถวๆรอบสะดือ หรือต่ำจากสะดือลงมาทางขวา เอามือกดเจ้บ ท้องแข็งอาจมีไข้ อาจมีท้องผูก อาจมีคลื่นไส้อาเจียนด้วย
ในเด็กอายุต่ํากว่า 12 ปี ไข้ตัวร้อนมากไอมากหายใจเสียงผิดปกติ หน้าเขียว หรือ ไม่มีไอ แต่ซึมไข้ลอย
ไข้สูง ตัวเหลือง (ดีซ่าน) อ่อนเพลีย อาจมีเจ็บ แถวๆชายโครง
มีเลือดสดๆ ออกมา จากทางใดก็ตาม อาจเป็นทางช่องคลอด เป็นต้น
ไข้สูง (ตัวร้อนมาก) ตาแดง ปวดเมื่อย ซึม บางทีเพ้อ จับไข้วันเว้นวันหรือสองวัน
โรคร้ายแรงอื่นๆ เช่น โรคเรื้อรัง โรคที่ดูอาการไม่ออกว่าเป็นอะไรกันแน่ งูพิษกัด สุนัขบ้ากัด บาดทะยัก
รูปแบบของยาสมุนไพร
ยาดอง
ยาปั้นลูกกลอน
ยาชง
ยาตำคั้นเอาน้ำกิน
ยาต้ม
ยาพอก
สมุนไพรสดๆ
หลักการทั่วไปในการเก็บสมุนไพร
ประเภทเปลือกต้นและเปลือกราก
ประเภทดอก
ประเภทใบหรือเก็บทั้งต้น
ประเภทผลและเมล็ด
ประเภทหัวหรือราก
ข้อควรระวังในการใช้ยาสมุนไพร
อย่าใช้ยาเข้มข้นเกินไป เช่น ยาที่บอกว่าให้ต้มิน อย่านำไปเคี่ยวจนแห้ง
ขนาดที่ระบุไว้ในตำรับยามักเป็นขนาดของผู้ใหญ่ ในเด็กจะต้องลดขนาดลง
ควรใช้ยาตามหลักการรักษาของแพทย์แผนโบราณอย่างเคร่งครัด
ควรระวังความสะอาดของสมุนไพร
เมื่อใช้ยาสมุนไพรควรสังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้น
ไม่ควรใช้ยาสมุนไพรนานเกินความจำเป็น
ข้อแนะนำในการเลือกซื้อยาสมุนไพร
ดูลักษณะภายนอก เช่น สี กลิ่น รส ว่าเปลี่ยนแปลง หรือผิดปกติหรือไม่ ถ้าผิดปกติไม่ควรซื้อ
ดูภาชนะบรรจุว่าอยู่ในสภาพที่ดีหรือไม่ ถ้าภาชนะชํารุดไม่ควรซื้อ
ดูวันผลิตยา และ วันหมดอายุ ไม่ควรซื้อยาที่หมดอายุ เพราะตัวยาอาจเสื่อมสภาพ
ดูแหล่งผลิตยาว่าน่าเชื่อถือหรือไม่ ในฉลากยาจะต้องระบุสถานที่ผลิตยาอย่างชัดเจน
ดูว่ามีทะเบียนยาถูกต้องหรือไม่ ยาสมุนไพรส่วนใหญ่จัดอยู่ในหมวดยาแผนโบราณ
ดูว่ามีราขึ้นหรือไม่ ถ้ามีไม่ควรซื้อ
การคัดเลือกสมุนไพรเพื่อใช้ในงานสาธารณสุขมูลฐาน
ด้านการแพทย์และสาะารณสุข โดยมุ่งให้สามารถแก้ปัญหาสุขภาพระดับพื้นฐานของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ด้านสังคมและวัฒนธรรม ให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่น
ด้านปรัชญาและแนวคิด โดยพิจารณาแนวคิดด้านตะวันตก และตะวันออกนํามาผสมผสานกัน