Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบทางเดินปัสสาวะ ( Urinary system) - Coggle Diagram
ระบบทางเดินปัสสาวะ
( Urinary system)
การเปลี่ยนแปลงระบบปัสสาวะ
การติดเชื้อในกระเพาะปัสสาวะและไตจะทำให้ติดเชื้อได้ง่าย
รักษาการกรองของไตเพิ่มขึ้น
ไตเจริญเติบโตและกองเลือดได้มากขึ้นเมื่อปริมาณเลือดเพิ่มขึ้น
การติดเชื้อจะทำให้กล้ามเนื้อเรียบของกระเพาะปัสสาวะมีการทำงานหยุดชะงัก
กระเพาะปัสสาวะบีบอัดจะทำให้ปัสสาวะ บ่อยและปัสสาวะไม่หยุด
องค์ประกอบระบบปัสสาวะ
ไต kidney
1.1) ทำให้เกิดปัสสาวะและขับปัสสาวะโดยขับออกทางหลอดไตไปยังกระเพาะปัสสาวะ
1.2) กรองของเสียจากกระบวนการเมตาบอลิซึมของร่างกาย ได้แก่ ยูเรีย ครีอาตินิน แอมโมเนีย กรดยูริก และ สารพิษที่ร่างกายไม่สามารทำลายได้
1.3) กักเก็บสารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายเพื่อนำมาใช้ใหม่ เช่น กลูโคส กรดอะมิโน ฮอร์โมน และวิตามิม ต่างๆ เป็นต้น
14.) รักษาสมดุลของน้ำและอีเล็กโตรลัยต์ในร่างกาย
1.5) การรักษาสมดุลของกรดด่างในร่างกาย
1.6) การผลิตฮอร์โมนหรือสารที่สำคัญต่อกระบวนการเมตาบอริซึมของร่างกาย
มี 2 ข้าง ซ้ายเเละขวา ลักษณะคล้ายเมล็ดถั่ว (BEAN-SHAPED) ไตข้างขวาจะอยู่ต่ำข้างซ้าย ไตปกติจะมีขนาดกว้าง 6cm ยาว 11cm หนา 3cm ไตของผู้ใหญ่ส่วนใหญ่จะหนักข้างละ 120-170 g
2) ท่อไต ( Ureters )
มีจำนวน 2 ท่อ เป็นท่อที่นำปัสสาวะจากไตไปยังกระเพาะปัสสาวะมีความยาว ประมาณ 10-12 นิ้ว
3) กระเพาะปัสสาวะ
( Urinary Bladder )
เป็นอวัยวะที่ประกอบด้วยกล้ามเนื้อ ภายในเป็นโพรง สำหรับพักปัสสาวะก่อนขับออกภายนอกร่างกาย ในพระเพาะปัสสาวะจะเป็นทางเปิด 3 ช่อง คือ ทางเปิด ชองท่อไตเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะจำนวน 2 ช่อง และทางเปิดออกสู่ท่อปัสสาวะจำนวน 1 ช่อง หน้าที่ สำคัญของกระเพาะปัสสาวะคือรับน้ำปัสสาวะที่กรองมาจากไต และเป็นที่พักชั่วคราวของปัสสาวะทั้งนี้ เพื่อป้องกันการไหลของปัสสาวะที่จะ ออกทางท่อปัสสาวะตลอดเวลา และเมื่อกระเพาะปัสสาวะรวบรวม ปัสสาวะมากเท่าที่สามารถบรรจุได้ ก็จะมีการขับถ่ายออกเป็นครั้งคราว โดยมีระบบประสาทควบคุม อัตโนมัติและระบบประสาทส่วนกลางเป็นตัวควบคุมการขับ ถ่าย ซึ่งจะกระตุ้นให้เกิดความรู้สึกอยาก ถ่ายปัสสาวะออกมา
กระเพาะปัสสาวะสามารถขยายได้จากจำนวนทีละน้อยๆคือ ขยายได้ทีละ 1 มิลลิเมตรจนเต็มที่ได้ถึง 1 ลิตร จะรับน้ำปัสสาวะได้ 200 – 400 c.c. และจะเกิดความรู้สึกปวดขับถ่ายทันทีแต่พบว่าในบางครั้งกระเพาะ ปัสสาวะสามารถขยายตัวรับได้ถึง 700 c.c. แต่ถ้าเกินกว่านั้นโดยไม่มีการขับถ่ายออก จะทำให้เป็นอันตราย ได้
4) ท่อปัสสาวะ ( Urethra )
เป็นส่วนที่ต่อจากกระเพาะปัสสาวะ เพื่อนำปัสสาวะออกสู่ภายนอก ร่างกาย ซึ่งในเพศหญิงจะมีความยาวประมาณ 4 ซม. ในขณะที่เพศชายจะมีความยาวประมาณ 20 ซม.
การเสริมสร้างเพื่อดำรงประสิทธิภาพในการทำงานของระบบขับถ่ายปัสสาวะ
1.ดื่มน้ำสะอาดในปริมาณที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
คืออย่างน้อยวันละ 8แก้ว เพื่อทดแทน ปริมาณน้ำที่ขับออกมาพร้อมกับปัสสาวะ
2.ไม่ควรรับประทานผักที่มีปริมาณของสารอ๊อกซาเลตสูง เช่น หน่อไม้ ผักแพว ชะพลู ใบมัน สำปะหลัง ผักสะเม็ด ผักกระโดน ฯลฯ ในปริมาณมากๆเนื่องจากจะทำให้เกิดการสะสมของผลึกสารแคลเซียม อ๊อกซาเลตในไต หรือกระเพาะปัสสาวะจนเป็นนิ่วได้
3.ควรรับประทานอาหารประเภทโปรตีน เช่น เนื้อสัตว์ นม ไข่ และถั่วต่างๆซึ่งมีปริมาณของสาร
ฟอสเฟตสูง ซึ่งก็จะชวยลดอัตราของการเกิดนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะได้เช่นกัน
4.ไม่กลั้นปัสสาวะเป็นเวลานาน เพราะจะทำให้มีโอกาสเกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะได้ โดยง่าย
5.เมื่อมีอาการผิดปกติเกิดขึ้นกับระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น ปัสสาวะกระปริกระปรอย หรือปัสสาวะ มีสีที่ผิดปกติหรืออื่นๆควรรับปรึกษาแพทย์
การทำงานของระบบขับถ่ายปัสสาวะจะเริ่มขึ้นเมื่อเลือดหรือพลาสม่าไหลผ่านไต และหน่วยไต ซึ่ง ในบริเวณนี้จะมีการกรองและดูดซึมสารที่มีประโยชน์ และน้ำบางส่วนกลับเข้าไปใช้ใหม่ในร่างกาย ในขณะที่ สารที่ร่างกายไม่ได้ใช้ประโยชน์และน้ำบางส่วนจะถูกผลิตออกมาจากไตใน รูปของปัสสาวะ และถูกขับออกมา จากไตไปเก็บยังกระเพาะปัสสาวะผ่านทางท่อไต และเมื่อปริมาณของน้ำปัสสาวะมากพอระบบประสาทที่ ควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะจะ กระตุ้นให้ร่างกายมีการขับน้ำปัสสาวะออกมาทางท่อปัสสาวะต่อไป
การพยาบาลสตรีตังครรภ์ทีเป็นโรค
ระบบทางเดินปัสสาวะ
เกิดจากเชือแบคทีเรียทีพบได้บ่อยคือ E.Coli
อาการและอาการแสดง
มีไข้สูง หนาวสั่น ร่วมกับมีอาการปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบืออาหาร คลืนไส้อาเจียน ปวดเมื่อยกล้ามเนือ
ถ่ายปัสสาวะแสบขัด กระปริบกระปรอย
ปวดท้อง ปวดบันเอวข้างใดข้างหนึงหรือทังสองข้าง ปวดตือๆเมือเคาะบริเวณระหว่างชายโครงและกระดูกสันหลังจะเจ็บมาก
ผลของโรคต่อการตังครรภ์
มารดา
ภาวะโลหิตจางเพิมสูงกว่าปกติ
ความดันโลหิตสูงขณะตังครรภ์
ทารก
เจริญเติบโตช้าในครรภ์
คลอดก่อนกําหนด
ตายปริกําเนิด
การติดเชือระบบทางเดินปัสสาวะ Urinary tract infections : UTI
ติดเชื้อโดยมีอาการ
ปวดปัสสาวะบ่อย กระปริดกระปรอย
ปัสสาวะขัดและเจ็บเสียวเมือป้สสาวะสุด
ปัสสาวะจะขุ่นหรือมีเลือด โดยเฉพาะเวลาปัสสาวะสุด
ตรวจปัสสาวะพบว่ามีเม็ดเลือดขาวมาก
ติดเชื้อโดยไม่มีอาการ
นำปัสสาวะไปเพาะเชือ จะพบแบคทีเรียมากกว่า 10 ยกกําลัง5 โคโลนี/มล
เชื้อแบคทีเรียทีเปนสาเหตุทีพบบ่อยทีสุดคือ Escherichia Coil
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
เกิดภาวะโลหิตจาง
ภาวะความดันโลหิตสูง
คลอดก่อนกําหนด
ทารกแรกเกิดมีนาหนักตัวน้อย
การพยาบาล
ดื่มนามากๆ วันละ 2,000-3,000 ml.
ทําความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ให้สะอาดและแห้งเสมอภายหลังการขับถ่ายปสสาวะและ อุจจาระ
แนะนําให้นับการเดินของทารก เพื่อประเมินภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์
ไม่กลั้นปัสสาวะ
แนะนําให้สังเกตอาการทีผิดปกติ ได้แก่ มดลูกหดรัดตัวมากกว่าปกติ มีอาการเจ็บครรภ์ เป็นต้น
การพยาบาล
กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน ( pyelonephritis)
ดูแลให้สตรีตังครรภ์ได้รับยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดําถูกขนาด และเวลาตามแผนการรักษา
แนะนําให้ดื่มน้ำมากๆวันละ 2,000-3,000 ml
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและเกลือแร่เข้าเส้นเลือดดําเพือ
ให้ปริมาณปัสสาวะทีออกมาไม่ต่ำกว่า 30 มิลลิลิตร/ชัวโมง
แนะนําไม่ให้กลั้นปัสสาวะ
วัดสัญญาณชีพและปริมาณปสสาวะทีออกมา
ทําความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกให้สะอาดและแห้งเสมอภายหลังการขับถ่ายปสสาวะแ ละอุจจาระ
ดูแลบันทึกสารนาเข้าทางหลอดเลือดดําตามแผนก ารรักษา และบันทึกจํานวน สี ลักษณะของปสสาวะ
ถ้ามีอายุครรภ์ใกล้ครบกําหนด ให้ประเมินการหดรัดตัวของมดลุกและการดินของทาร กในครรภ์ ตลอดจนอาการเจ็บครรภ์เตือน เจ็บครรภ์จริง
ฟัง FHS ทุก 4 ชัวโมง
การเปลียนแปลงทางสรีรวิทยาของระบบ ทางเดินปัสสาวะในขณะตังครรภ์
ระบบปสสาวะตังแต่ในกรวยไตจนถึงท่อไตจะขยายใหญ่ขึนมากโดยเฉพาะด้านขวาซึงอาจจะเป็นผลมาจากฮอร์โมนโปรเจสเทอโรน ร่วมกับผลของการถูกกดทับโดยมดลูกทีโตขึ้น
ทําให้มีการคังของนาปสสาวะในไต ท่อไต ค้างอยู่นาน เป็นสาเหตุให้เกิดการติดเชือ
มีการเปลียนแปลงทางหน้าทีของไต
มีระบบการหมุนเวียนของเลือดเพิมขึนประมาณร้อยละ 70-85 เปนผลให้creatinine และ BUN ในเลือดลดต่ำลง