Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ - Coggle Diagram
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
3.ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยดของสารน้้า
4.เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก จะบังคับการหยดได้ไม่ดีพอ อัตราการหยดจะเร็ว
5.สายให้สารน้ำ มีความยาวมาก มีการหักพับงอหรือถูกกด จะทำให้สารน้ำผ่านไม่สะดวก อัตราการไหลจะช้าลง
3.ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ เข็มขนาดใหญ่จะมีทางผ่านกว้าง อัตราการหยดจะเร็วกว่าใช้เข็มขนาดเล็ก
6.การผูกยึดบริเวณหลอดเลือด แน่นหรือตึงเกินไปรวมทั้งการนั่ง หรือนอนทับสายให้สารน้ำ จะปิดกั้นทางผ่านของสารน้ำ ทำให้อัตราการหยดช้าลง
2.ความหนืดของสารน้ำ ถ้าสารน้ำมีความหนืดสูงอัตราการหยดจะช้า
7.การเคลื่อนย้ายและการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย อาจทำให้เข็มเคลื่อนที่ ปลายตัดของเข็มแนบชิดผนังหลอดเลือด หรือแทงทะลุหลอดเลือด สารน้ำไหลไม่สะดวก อัตราการหยดจะช้าลง
1.ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
การปรับอัตราหยดผู้ป่วยเด็กที่เอื้อมมือไปหมุนปรับเล่น หรือญาติผู้ป่วยหมุนปรับเอง
6.อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
แบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2ประเภท คือ
1.ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ (Local complication)
ได้แก่
2) การมีเลือดออกและแทรกซึมเข้าใต้ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็ม
3)การติดเชื้อเฉพาะที่ บวมแดง ร้อน บริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำอาจจะมีหนองบริเวณที่แทงเข็ม
1)การบวมเนื่องจากสารน้ำซึมออกนอก หลอดเลือดดำ เกิดอาการบวมบริเวณที่แทงเข็มให้สารน้ำ ผู้ป่วยรู้สึกปวดแสบบริเวณที่บวมและไม่สุขสบาย
4) หลอดเลือดดำอักเสบ ผิวหนังบริเวณที่แทงเข็มบวมตำแหน่งที่แทงเข็มแดงร้อน หลอดเลือดดำที่ให้สารน้ำเป็นลำแข็ง บางครั้งอาจมีไข้ร่วมด้วย
ระดับการอักเสบของหลอดเลือดดำจากการให้สารน้ำ
Grade1 ผิวหนังบริเวณแทงเข็มแดง มีอาการปวดหรือไม่มีก็ได้
Grade2 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมหรือไม่บวมก็ได้
Grade 0 ไม่มีอาการ
Grade 3 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมแดงเป็นทาง คลำได้หลอดเลือดแข็งเป็นลำ
Grade 4 ปวดบริเวณที่แทงเข็ม ผิวหนังบวมแดงเป็นทาง
คลำได้หลอดเลือดแข็งเป็นลำความยาวมากกว่า 1 นิ้ว มีหนอง
การพยาบาล
3) เปลี่ยนที่แทงเข็มให้สารน้ำใหม่
4 )รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
2) ประคบด้วยความร้อนเปียก
5) จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย เพื่อลดอาการบวม
1) หยุดให้สารน้ำ จัดแขนข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัวผู้ป่วย
6) ส่งหนองบริเวณที่แทงเข็มเพาะเชื้อ
2.ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนของเลือด (Systemic complication)
ได้แก่
1) การแพ้ยาหรือสารน้ำที่ได้รับ (Allergic reaction) มีผื่นแพ้เกิดขึ้นที่ผิวหนัง ร่วมกับอาการแพ้ต่างๆ ถ้าอาการเป็นมากอาจช็อคได้
2) การติดเชื้อในกระแสเลือด (BacteremiaหรือSepticemia) มีไข้สูง หนาวสั่นความดันโลหิตลดลงคลื่นไส้ อาเจียนบางครั้งมีอาการถ่ายเหลวมีการติดเชื้อเฉพาะที่เกิดร่วมด้วย
3) เกิดฟองอากาศในกระแสเลือด (Air embolism) เกิดจากการไล่ฟองอากาศในชุดสายให้สารน้ำไม่หมด
4) ให้สารน้ำเร็วเกินและมากเกินไป(Circulatory overload) โดยเฉพาะในผู้ป่วยโรคหัวใจ อาจเกิดอาการหัวใจวาย หรือน้ำท่วมปอดได้
การพยาบาล
5)เตรียมรถ Emergency ในการช่วยเหลือเร่งด่วน
6)รายงานให้แพทย์ทราบเพื่อให้การรักษา
4)วัดอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจ และความดันโลหิต เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
7)ส่งเลือดและหนองที่เกิดเฉพาะที่ไปเพาะเชื้อ
3)ให้การช่วยเหลือตามอาการ
8)ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
2)เปลี่ยนขวดให้สารน้ำกรณีผู้ป่วยมีการแพ้ยา หรือสารน้ำที่ได้รับ หรือมีการติดเชื้อ
9)ดูแลให้ออกซิเจน
1)หยุดให้สารน้ำ
10)จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะต่ำกรณีความดันโลหิตต่ำ
หรือจัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงกรณีความดันโลหิตสูง
4.การคำนวณอัตราการหยดของสารน้้าทางหลอดเลือดดำ
สูตรการคำนวณอัตราหยดของสารน้้าใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย(หยด/นาที) = จำนวนSol.(มล/ชม.) x (จำนวนหยดต่อมล.) / เวลา(นาที)
สูตรการคำนวณสารน้้าที่จะให้ใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ใน 1 ชม. = ปริมาตรของสารน้ำที่จะให้ / จำนวนเวลาที่จะให้เป็นชั่วโมง
2.ชนิดของสารน้้าที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
สารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำทุกชนิด
ประกอบด้วย
รวมทั้งอิเล็กโตไลท์
ส่วนประกอบที่ไม่ใช่ไอออน
เช่น
กลูโคส
ยูเรีย
ตัวถูกละลาย
แบ่งออกตามความเข้มข้นได้ 3 ชนิดดังนี้
สารละลายไฮโปโทนิก(Hypotonic solution)
ออสโมลาริตี้ น้อยกว่า 280 m0sm/lซึ่งค่า Osmolarityน้อยกว่าน้ำนอกเซลล์
เป็นสารน้ำที่มีโมเลกุลอิสระของน้ำมากกว่าในเซลล์จึงทำให้เกิดการเคลื่อนของน้ำเข้าสู่เซลล์
การให้สารน้ำชนิดนี้ต้องให้อย่างช้าๆ เพื่อป้องการรบกวนของเซลล์
3.สารละลายไฮเปอร์โทนิก(Hypertonic solution)
เป็นสารน้ำที่มีค่าออสโมลาริตี้ มากกว่า 310m0sm/l ซึ่งมีมากกว่าออสโมลาริตี้ของน้ำนอกเซลล์
สารน้ำอันนี้มีโมเลกุลอิสระของน้ำน้อยกว่าน้ำในเซลล์และจะทำให้เกิดการดึง
น้ำจากเซลล์สู่ระบบการไหลเวียน
1.สารละลายไอโซโทนิก (Isotonic solution)
จะมีความเข้มข้นเท่ากันน้ำนอกเซลล์ (Extracellular fluid)
เมื่อให้ทางหลอดเลือดดำจะไม่มีการเคลื่อนที่ของน้ำเข้าหรือออกจากเซลล์
การให้สารน้ำชนิดIsotonicจึงช่วยเพิ่มปริมาตรของน้ำที่อยู่นอกเซลล์
ได้แก่
Normal saline
5%Dextrose in water
Lactated Ringer’s
5% Albumin
Hetastarch
1.หลักการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
แบ่งออกเป็น3 ชนิด ดังนี้
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำใหญ่(Central venous therapy)
เป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทาง Central lineทางหลอดเลือดดำใหญ่ๆ
ซึ่งจะให้ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากหรือรับประทานอาหารทางปากได้ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
3.การให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำใหญ่ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
เป็นการฝังอุปกรณ์ที่ใช้ในการให้ของเหลวทางหลอดเลือดดำไว้ใต้ผิวหนังโดยที่ปลายสายสอดผ่านเข้าหลอดเลือดดำใหญ่
ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องให้สารละลายทางหลอดเลือดดำเป็นระยะๆและไม่สามารถให้สารน้ำและสารละลายทางหลอดเลือดดำส่วนปลายได้
เช่น
ผู้ป่วยโรคเลือดเรื้อรัง จำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัด
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย (Peripheral intravenous infusion)
ป็นการให้สารน้ำหรือของเหลวทางหลอดเลือดดำที่อยู่ในชั้นตื้นๆของผิวหนังหรือหลอดเลือดดำ
5.การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
พิจารณาตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม วิธีการปฏิบัติการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ รวมไปถึงวิธีการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำ
มีรายละเอียดดังนี้
1.การเลือกตำแหน่งของหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็ม
3)ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเข็มว่ามีสภาพที่เหมาะสม เพราะจะทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่ายและการรัดสายTourniquetจะขัดขวางระบบไหลเวียนแขนอาจบวมได้
4)ถ้าจำเป็นต้องผูกยึดแขนและขาให้หลีกเลี่ยงการแทงเข็มให้สารน้ำ
2) ให้เริ่มต้นแทงเข็มที่ให้สารน้ำที่หลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อนเพื่อให้หลอดเลือดดำส่วนที่ถัดเข้ามาสามารถใช้งานได้อีก
5)หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อพับต่างๆ เพราะจะทำให้หลอดเลือดแตกทะลุง่าย
1) เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อนเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถใช้แขนข้างที่ถนัดทำกิจวัตรต่างๆได้ด้วยตนเอง
6)คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้
2.อุปกรณ์เครื่องใช้
2) ชุดให้สารน้ำ ใช้เป็นทางผ่านของสารน้ำจากขวดไปสู่หลอดเลือดดำของผู้ป่วยบรรจุในซองที่ปิดผนึกมิดชิดผ่านการฆ่าเชื้อ สามารถเปิดใช้ได้ทันที
มี 2 แบบ คือ
แบบชุดให้สารน้ำชนิดหยดธรรมดา
ชุดให้สารน้ำชนิดหยดเล็ก
3) เข็มที่ใช้แทงเข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย ทำด้วยเทฟล่อน นิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบัน
แต่มีข้อเสียที่เข็มอาจพับหรืองอ เมื่อแทงเข็มใกล้ข้อพับแล้วผู้ป่วยงอแขนและมีอาการแทรกซ้อน คือหลอดเลือดอักเสบได้
1) ขวดสารน้ำ ต้องเตรียมให้ตรงกับใบสั่งการรักษาและตรวจสอบดูว่าสภาพขวดไม่มีรอยแตกร้าว หรือรูรั่ว สารน้ำไม่หมดอายุ ไม่มีลักษณะขุ่นเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำที่ปราศจากเชื้ออย่างแท้จริง
4)อุปกรณ์อื่นๆ เช่น เสาแขวนขวดให้สารน้ำ ยางรัดแขน แผ่นโปร่งใสปิดตำแหน่งที่แทงเข็ม หรือก๊อซปลอดเชื้อ ไม้รองแขนพลาสเตอร์ สำลีปลอดเชื้อ 70%Alcohol ถุงมือสะอาดเป็นต้น
9.การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์
1.ให้ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารและน้ำทางปากไม่ได้ ให้ได้รับสารอาหารครบถ้วนตามความต้องการของร่างกาย โดยผ่านทางหลอดเลือดเลือดดำ
2.ทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป เช่น อาเจียน อุจจาระร่วงรุนแรง หรืออุจจาระร่วงเป็นระยะเวลานาน
ข้อบ่งชี้ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
จะให้ในกรณีดังต่อไปนี้
3)ภาวะทางศัลยกรรม เช่น ถูกน้ำร้อนลวก
4)ความผิดปกติของจิตใจ เช่น anorexia nervosa
2)โรคของอวัยวะต่างๆ เช่น ภาวะไตวาย
5)โรคมะเร็งต่างๆ เช่น มะเร็งกระเพาะอาหาร
1)โรคทางเดินอาหาร
ส่วนประกอบของสารอาหารในสารละลาย
3.โปรตีนอยู่ในรูปกรดอะมิโน
4.วิตามิน ให้ทั้งชนิดละลายในน้ำ เช่น วิตามิน B12, thiamine
และชนิดละลายในไขมัน เช่น วิตามินเอ, ดี, อี และวิตามินเค
2.สารละลายไขมัน (fat emulsion)
5.เกลือแร่ ก่อนที่จะเริ่มให้สารอาหารควรมีการคำนวณจำนวนเกลือแร่ให้เรียบร้อย
1.คาร์โบไฮเดรต นิยมใช้ในรูปของกลูโคส
6.น้ำ ให้คำนวณจำนวนน้ำที่จะให้แก่ผู้ป่วยตามน้ำหนักตัว
ชนิดของสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
แบ่งได้ 2ประเภท
1.Total parenteral nutrition (TPN)
เป็นการให้โภชนบำบัดครบตามความต้องการของผู้ป่วยทั้งปริมาณพลังงานที่ต้องการ และสารอาหารทุกหมู่
กรณีนี้สารอาหารที่ให้ทางหลอดเลือดดำจะมีความเข้มข้นสูงมาก
ต้องให้ทาง Central vein จึงจะไม่เกิดการอักเสบของหลอดเลือดดำ
2.Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
เป็นการให้โภชนบำบัดทางหลอดเลือดดำเพียงบางส่วน อาจได้พลังงานไม่ครบตามความต้องการ หรือได้สารอาหารไม่ครบทุกหมู่
กรณีนี้ถ้าความเข้มข้นของสารอาหารไม่มากนัก สามารถให้ทางหลอดเลือดดำแขนงได้
ตำแหน่งของการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.การให้ทางหลอดเลือดดำแขนง ข้อดีนี้คือไม่ยุ่งยากสามารถให้แก่ผู้ป่วยได้ทันที แต่มีข้อจำกัดคือ ไม่สามารถให้น้ำตาลกลูโคสมากกว่าร้อยละ 10ของสารละลาย
2.การให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่ สามารถเพิ่มความเข้มข้นของน้ำตาลกลูโคสได้ถึงร้อยละ 20-25 เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับสารอาหารทางหลอดเลือดดำเป็นเวลานานและต้องการพลังงานค่อนข้างสูง
อุปกรณ์ในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.สายให้อาหารทางหลอดเลือดดำ ปัจจุบันสายให้อาหารทางหลอดเลือดดำมีรูปแบบต่างๆ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของผู้ป่วยแต่ละราย
2.ชุดให้สารอาหาร
ขั้นตอนในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
5.ตรวจสอบ PPN หรือTPN จะต้องไม่ขุ่นหรือมีตะกอน
6.มีป้ายปิดที่ขวดให้สารอาหาร ระบุชื่อ และสกุลของผู้ป่วย ชนิดและปริมาณของสารอาหาร อัตราหยดต่อนาที วันและเวลาที่เริ่มให้ วันและเวลาที่สารอาหารหมด ชื่อผู้เตรียมสารอาหาร
4.ต่อสายยางให้อาหารเข้าไปในชุดให้สารอาหาร ปิดผ้าก๊อซปราศจากเชื้อบริเวณรอยต่อโดยใช้เทคนิคปราศจากเชื้อ
7.นำสารอาหารและสายยางให้สารอาหารไปต่อกับผู้ป่วยโดยเช็ดบริเวณรอยต่อด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ ปิดด้วยผ้าก๊อซปราศจากเชื้อ
3.เตรียมอุปกรณ์ในการให้ PPN หรือTPN ที่สะอาดปราศจากเชื้อ และเตรียมชุดให้สารอาหารให้พร้อม
8.ให้สารอาหารปรับจำนวนหยดตามแผนการรักษา
2.ล้างมือให้สะอาดก่อนให้การพยาบาลทุกครั้งสวมmask
1.อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ ว่าจะต้องให้สารอาหารมักมีความวิตกกังวล หวาดกลัว
7.การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
มีขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
วางแผนให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำโดยประยุกต์ใช้หลักการ 6 Rights
หลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goal
วัตถุประสงค์ของการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
ให้สารน้ำเพียงพอกับความต้องการของร่างกายในรายที่ไม่สามารถรับประทานได้ทางปาก
ให้ยาบางชนิดที่ไม่สามารถดูดซึมทางระบบทางเดินอาหาร
ให้สารน้ำทดแทนน้ำที่สูญเสียจากร่างกาย
รักษาสมดุลของกรด-ด่างในร่างกาย ในรายที่มีภาวะเสียสมดุลกรด–ด่าง
5.ใช้เป็นช่องทางในการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำ ติดต่อกันเป็นเวลานาน
แก้ไขความดันโลหิตโดยการให้สารละลายที่มีความเข้มข้นมากกว่าน้ำในร่างกาย
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำไม่พบอาการแทรกซ้อนและปลอดภัยตามหลักการ6 Rights
หลักความปลอดภัย SIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 4 การให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
เครื่องใช้
three ways
IV stand (เสาน้ำเกลือ)
extension tube
พลาสเตอร์ หรือ พลาสเตอร์ใสสำเร็จรูป (transparent)
สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
แผ่นฉลากชื่อ
tourniquet
intravenous set (IV set)
intravenous catheter (IV cath.) เบอร์ 22/ 24
ถุงมือสะอาด mask
intravenous fluid (IV fluid) ตามแผนการรักษา
วิธีทำการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
7.ต่อIV setกับIV fluid
ต่อthree ways กับextension tube แล้วมาต่อกับIV set
6.เช็ดจุกยางที่ขวดหรือถุงสารน้ำด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ปิดclamp ที่IV set
5.ดึงแผ่นโลหะที่ปิดขวดสารน้ำหรือฝาครอบที่ปิดถุงน้ำพลาสติกออก
10.แขวนขวดIV fluidเสาน้ าเกลือแขวนให้สูงประมาณ 1 เมตร(3ฟุต)จากผู้ป่วย
4.ล้างมือให้สะอาด
11.บีบchamberของ IV setให้IV fluidลงมาในกระเปาะประมาณ½ของกระเปาะไล่อากาศในสาย IVจนหมด
3.บอกให้ผู้ป่วยทราบโดยอธิบายวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจและลดความวิตกกังวล
การเตรียมผิวหนังและการแทงเข็มให้สารน้ำ
เลือกตำแหน่งที่จะแทงIV cath.
รัด tourniquetเหนือตำแหน่งที่ต้องการแทงเข็ม ประมาณ 2-6นิ้ว
สวมถุงมือสะอาดและ mask
ทำความสะอาดผิวหนังตำแหน่งที่จะแทงเข็มด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์70%
ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ของมือซ้ายตรึงผิวหนังตำแหน่งที่จะแทงIV cath.
เตรียมIV cath.ประกอบด้วย ท่อพลาสติกและเข็มเหล็กเพื่อใช้เป็นตัวนำ
ในการแทงผิวหนัง
ให้ปฏิบัติ ดังนี้
วางก๊อชปลอดเชื้อปิดที่เข็มแทงแล้วปิดด้วยพลาสเตอร์หรือtransparent
ติดพลาสเตอร์ยึดสายให้สารน้ำป้องกันการดึงรั้ง และเขียนระบุ วัน เวลาที่เริ่มให้IV fluidไว้ที่แผ่นของกระดาษของtransparent
ปรับอัตราหยดตามที่คำนวณไว้ตามแผนการรักษา
2.เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย ตรวจสอบรายชื่อนามสกุล
เก็บอุปกรณ์ทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
1.ตรวจสอบคำสั่งการรักษา เขียนชื่อ-สกุลของผู้ป่วย ชนิดของสารน้ำ วันเวลาที่เริ่มให้อัตราการหยดของสารน้ำลงในแผ่นฉลากปิดข้างขวด
14.ลงบันทึกทางการพยาบาล
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
มีความพร้อมในการเริ่มให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การหยุดให้สารน้้าทางหลอดเลือดดำ
ปฏิบัติดังนี้
1.อุปกรณ์เครื่องใช้
พลาสเตอร์
ถุงมือชนิดใช้แล้วทิ้ง
สำลีปลอดเชื้อหรือก๊อซปลอดเชื้อ
2.วิธีปฏิบัติ
2)แกะพลาสเตอร์ที่ปิดยึดหัวเข็ม และสายให้สารน้ำออกทีละชิ้น ระวังอย่าให้เข็มถูกดึงรั้งออกทางผิวหนัง
3)สวมถุงมือเพื่อไม่ให้เลือดสัมผัสกับมือพยาบาล
1)ปิดclamp
4)ดึงเข็มที่ให้สารน้ำออกทางผิวหนังตามแนวที่แทงเข็ม
5)ใช้สำลีแห้งหรือก๊อซปลอดเชื้อกดทับที่ตำแหน่งที่ดึงเข็มออกหรือยึดติดด้วยพลาสเตอร์และปิดไว้นาน 8ชั่วโมง
6)เก็บชุดให้สารน้ำและเข็มที่แทงให้เรียบร้อย
7)บันทึกในบันทึกทางการพยาบาลวัน เวลาและเหตุผลของการหยุดให้สารน้ำ
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านร่างกาย
ระดับความรู้สึกตัว
พยาธิสภาพของโรค ประวัติเจ็บป่วย โรคของผู้ป่วย และโรคหรืออาการแทรกซ้อน
การประเมินด้านจิตใจ
ความต้องการรับบริการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ความวิตกกังวลและความกลัว
ความพร้อมของการรับบริการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสิ่งแวดล้อมผู้ป่วย
ความพร้อมใช้ของสิ่งแวดล้อมตัวผู้ป่วย เช่น ตู้ข้างเตียง เหล็กกั้นเตียง เป็นต้น
ความสะอาดของสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วยและรอบเตียง
บรรยากาศในหอผู้ป่วย และมีอากาศถ่ายเทสะดวก
การประเมินแผนการรักษา
ตรวจสอบแผนการรักษา
ตรวจสอบชนิดของสารน้ำตามแผนการรักษา ชนิด ปริมาณ อัตรา และเวลา
10.อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในระบบไหลเวียนของเลือด ที่พบบ่อยจะเป็นก้อนเลือด และอากาศ สาเหตุมักมาจากผนังด้านในของหลอดเลือดดำไม่เรียบ และมีเข็มแทงผ่าน เป็นผลให้เลือดไหลผ่านบริเวณนั้นช้าลง และเกิดการสะสมของเลือดและเกร็ดเลือด
การให้สารอาหารมากเกินไป พบได้ง่ายในผู้ป่วยเด็ก ผู้ที่มีปัญหาของระบบไหลเวียนเลือด และไต อาจเนื่องจากให้สารอาหารที่เร็วเกินไป
1.บวมเนื่องจากมีสารอาหารเข้าไปอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหนัง เกิดขึ้นเมื่อเข็มเคลื่อนออกจากหลอดเลือด พบได้บ่อยในหลอดเลือดที่เล็ก บาง หรือผู้ป่วยที่มีกิจกรรมมากๆ
ไข้ เกิดจากมีสารแปลกปลอมซึ่งเป็นส่วนประกอบของโปรตีนเข้าสู่กระแสเลือด สาเหตุอาจมีการปนเปื้อนในการเตรียมสารอาหาร หรือการฉีดยาทางสายยางให้อาหาร สารอาหารเสื่อมอายุ หมดอายุ ขวดบรรจุสารอาหารมีรอยร้าว หรือหมดอายุของขวดบรรจุสารอาหาร
การหยุดให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ขณะเดียวกันก็เพิ่มอาหารที่ให้ทางปาก เมื่อความเข้มข้นของกลูโคสในสารละลาย
ลดลงเหลือร้อยละ 5 ก็อาจจะยกเลิกการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำในวันรุ่งขึ้น
เมื่อไม่มีความจำเป็นที่จะให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำให้งด สารละลายไขมันได้ทันทีและลดความเข้มข้นของน้ าตาลกลูโคส และกรดอะมิโนลง รวมทั้งเกลือแร่ต่างๆ
8.การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดำ
มีขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่3 การวางแผนในการบริหารยา
วัตถุประสงค์ของการฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาที่มีผลระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อ
ให้ยาชนิดที่ไม่สามารถให้ทางอื่นได้ผลต่อการรักษา
ให้ยาออกฤทธิ์เร็ว
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยปลอดภัยตามหลักการ 6 Rights
ผู้ป่วยปลอดภัยตามหลักความปลอดภัย SIMPLE ของpatient safety goals
ขั้นตอนที่ 4 วิธีการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
วิธีการฉีดยาแบบที่ 3 Surg plug กับ piggy back (100ml)
ปฏิบัติดังนี้
วิธีการฉีดยา
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด surg plug
แขวน piggy back กับ เสาน้ำเกลือ ปลดเข็มออกวางลงบนถาด เปิด clamp ให้น้ำยาไหลลงมาตาม set IV จนน้ำยาเต็มสายยาง ปิดclamp
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
มือซ้ายจับ surg plugปลดเข็มออกจาก set IV ไล่อากาศออกให้หมด
1.ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
เช็ด surg plug สวมปลาย set IV เข้ากับ surg plug เปิด clamp ปรับหยดยา
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ surg plug มือขวาเช็ด surg plug
วิธีการฉีดยาแบบที่ 4 Surg plug กับ syringe IV push
ปฏิบัติดังนี้
วิธีการฉีดยา
1.ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
เมื่อยาฉีดหมด ปิด clamp มือขวาดึงเข็มออก ปิดปลอกเข็มด้วยมือข้างเดียวมือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plu
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
6.ถอดปลอกเข็มของ IV set ไล่อากาศออกให้หมด มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อยมือขวาจับแทงเข็มตรงจุดยางของ IV plugเปิด clamp ปรับหยดยา
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug
5.มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวาจับ syringe 0.9 % NSS แทงเข็มตรง จุกยางของ IV plug ดึง plunger
แขวน piggy back กับเสาน้ำเกลือ มือขวาหยิบ syringe 0.9 % NSS 3 ml
ถอดปลอกเข็มวางลงบนถาด แล้วไล่อากาศออกให้หมด
วิธีการฉีดยาแบบที่ 2 IV plug กับ syringe IVpush
ปฏิบัติดังนี้
วิธีการฉีดยา
มือขวาหยิบ syringe 0.9 % NSS ถอดปลอกเข็มวางบนถาด ไล่อากาศออกให้หมด
มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวาจับ syringe 0.9 % NSS แทงเข็มตรงจุกยางของ IV plug ดึง plunger
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug
ถอดปลอกเข็มของ syringe ไล่อากาศออกให้หมด มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวาจับsyringe แทงเข็มตรงจุดยางของ IV plug มือขวาดัน plunger ฉีดยาช้า ๆ จนยาหมด
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
มือขวาดึงsyringe ออก ปิดปลอกเข็มด้วยมือข้างเดียว มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug
1.ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
วิธีการฉีดยาแบบที่ 5 three ways กับ piggy back (100 ml)
ปฏิบัติดังนี้
เครื่องใช้
สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ถุงมือสะอาด, mask
IV setพร้อมเข็มเบอร์ 23
ยาฉีดผสมใน piggy back (100ml)
วิธีการฉีดยา
แขวน piggy back กับ เสาน้ าเกลือปลดเข็มออกวางลงบนถาด
เปิด clamp ให้น้ำยาไหลลงมาตาม set IV จนน้ำยาเต็มสายยาง ปิดclamp
มือซ้ายจับthree ways มือขวาหมุน ข้อต่อ three ways ปลดเข็มออกจาก set IV ไล่อากาศออกให้หมด
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาดthree way
เช็ด three ways สวมปลาย set IV เข้ากับthree ways หมุนให้แน่น เปิด clamp
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
7.เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ three ways มือขวาเช็ด three ways แล้วปรับข้อต่อ three ways ปิดด้านที่ฉีดยา
1.ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
วิธีการฉีดยาแบบที่ 1 IV plugกับ piggy back (100 ml)
ปฏิบัติดังนี้
เครื่องใช้
IV set ใช้ drip ยาพร้อมเข็มเบอร์ 23
syringe 0.9 % NSS 3 ml พร้อมเข็มเบอร์ 23 จำนวน2 อัน
ยาฉีดผสมใน piggy back (100 ml)
4.สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ถุงมือสะอาด, mask
วิธีการฉีดยา
แขวน piggy back กับเสาน้ าเกลือ มือขวาหยิบ syringe 0.9 % NSS 3 ml
5.มือซ้ายยก IV plug ขึ้นเล็กน้อย มือขวาจับ syringe 0.9 % NSS แทงเข็มตรง
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด IV plug ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
6.ถอดปลอกเข็มของ IV set ไล่อากาศออกให้หมด
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
เมื่อยาฉีดหมด ปิด clamp มือขวาดึงเข็มออก
1.ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
วิธีการฉีดยาแบบที่ 6 three ways กับsyringe IV push
ปฏิบัติดังนี้
เครื่องใช้
syringe IV push ยา พร้อมเข็มเบอร์ 23
สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ยาฉีดผสมใน piggy back (100ml)
ถุงมือสะอาด, mask
วิธีการฉีดยา
มือซ้ายเช็ดทำความสะอาด three ways ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
มือซ้ายจับ three ways มือขวาหมุน ข้อต่อ three ways ปลดเข็มออกจาก set IV ไล่อากาศออกให้หมด
บอกผู้ป่วยว่าจะมาฉีดยาให้
ปลดเข็มออกจาก syringe ไล่อากาศออกให้หมด
1.ตรวจสอบความถูกต้องของยาฉีด ชื่อ-นามสกุล ป้ายข้อมือ และเตียงผู้ป่วย
เช็ด three ways ด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
เมื่อยาหมด มือซ้ายจับ three ways มือขวาเช็ด three ways แล้วปรับข้อต่อ three ways ปิดด้าน side ที่ฉีดยา
ขั้นตอนที่2 ข้อวินิจฉัย
การบริหารยาที่มีประสิทธิภาพโดยใช้หลักการ 6Rights
หลักความปลอดภัยSIMPLE ของ patient safety goals
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลการบริหารยาฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลคุณภาพการบริการ เป็นการประเมินคุณภาพของผลการปฏิบัติงาน เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลการบริหารยาฉีด
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย
การประเมินด้านจิตใจ
ความต้องการรับบริการฉีดยา
ความวิตกกังวลและความกลัว
ความพร้อมของการรับบริการฉีดยา
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสิ่งแวดล้อมผู้ป่วย
ความพร้อมใช้ของสิ่งแวดล้อมตัวผู้ป่วย
ความสะอาดของสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วยและรอบเตียง
บรรยากาศในหอผู้ป่วย และมีอากาศถ่ายเทสะดวก
การประเมินด้านร่างกาย
ประวัติการแพ้ยา
พยาธิสภาพของโรค ประวัติเจ็บป่วย โรคของผู้ป่วย และโรคหรืออาการแทรกซ้อน
ระดับความรู้สึกตัว
11.การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารอาหารทางหลอดเลือดำ
ขั้นตอนที่ 3การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ขั้นตอนที่ 2ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ขั้นตอนที่ 5 การประเมินผลทางการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ(Evaluation)
ขั้นตอนที่1 การประเมินสภาพผู้ป่วย(Assessment)