Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การตรวจทรวงอกและปอด (Thorax and lung), image, image, image, image,…
บทที่ 3 การตรวจทรวงอกและปอด (Thorax and lung)
Chest landmark
ได้แก่
1) Mid Sternal Line (MSL) เส้นลากแนวดิ่งผ่านกลาง sternum
2) Mid Clavicular Line (MCL) เส้นลากแนวดิ่งผ่านจุดกึ่งกลางกระดูกไหปลาร้า มี 2 เส้น ซ้ายขวา
3) Axillary Line (AAL) เส้นลากแนวดิ่งผ่านรอยพับด้านหน้าของรักแร้มี 2 เส้น ซ้าย ขวา
4) Mid Axillary Line (MAL) เส้นลากแนวดิ่งผ่านจุดกึ่งกลางรักแร้ มี 2 เส้น ซ้ายขวา
anatomical landmark
หัวนม (nipple)
Angle of Louis ลักษณะเป็นสันนูนบน sternum ตําแหน่งนี้จะต่อกับซี่โครงที่ 2 ใช้เป็น landmark
Suprasternal notch อยู่ที่ฐานคอด้านหน้า อยู่เหนือ manubrium ลักษณะบุ๋มลงไป
Costal angle มุมที่เกิดจากชายโครงทั้ง 2 ข้างมาต่อกับ sternum
Spinous process เมื่อให้ผู้รับบริการก้มศีรษะจะพบปุ่ม 2 ปุ่ม ปุ่มบนคือ spinous process ของ C7 ปุ่มล่างคือ spinous process ของ T1
กระดูกไหปลาร้า (clavicle)
Inferior angle of scapular หรือมุมแหลมล่างของกระดูกสะบัก ซึ่งในท่ายืนตัวตรง ปล่อยแขนวางข้างลําตัวจะอยู่ตรงกับกระดูกซี่โครงด้านหลังอันที่ 7 (7th rib)
Costrovertebral angle (CVA) คือ มุมที่เกิดจากกระดูกซี่โครงมาต่อกับกระดูกสันหลัง
Surface anatomy
-เป็นตําแหน่งและการแบ่งกลีบปอด เพื่อให้ทราบตําแหน่งของปอดที่ทําการตรวจ
-ปอดกลีบบน (upper lobe) อยู่เหนือเส้นแบ่งกลีบปอด oblique fissure หรือเส้นสมมติที่ลากจาก spinous processที่ 3 ลากเฉียงไปทางด้านหน้า ผ่าน mid axillary line
ที่กระดูกซี่โครงที่ 5 ผ่าน mid clavicular line ที่กระดูกซี่โครงที่ 6
-ปอดกลีบกลาง (middle lobe) มีเฉพาะด้านขวา มีเส้นแบ่งกลีบปอด horizonal ตรงกับเส้นแนวนอนที่ลากมาจากขอบขวาของกระดูก sternum ตรงกับกระดูกซี่โครงอันที่ 4 ไปจรดกับ oblique fissure ที่ mid axillary line
-ยอดปอดแต่ละข้างจะอยู่เหนือ 1/3 ด้านในของกระดูกไหปลาร้าประมาณ 2-4 เซนติเมตร
-ขอบปอดด้านล่างหรือฐานปอด ด้านหน้า อยู่บริเวณกระดูกซี่โครงที่ 6 ตัดกับเส้น
mid Clavicular Iine ด้านข้างอยู่บริเวณกระดูกซี่โครงที่ 8 ตัดกับ mid axillary line และด้านหลังอยู่ระดับ spinous process ของ T11
การตรวจทรวงอกและปอด
การดู สิ่งที่ต้องสังเกต คือ รูปร่างของทรวงอก ขนาดของทรวงอก
การเคลื่อนไหวของทรวงอก และผิวหนัง
1.1รูปร่างทรวงอกที่ผิดปกติ
-Kyphosis หรือหลังโกง กระดูกสันหลังโค้งโก่งขึ้นมา ในผู้สูงอายุมักเป็น (curved kyphosis)
Scoliosis หรือหลังคด กระดูกสันหลังคดเอียงไปด้านข้าง
-Pigeon chest หรือ อกนูน กระดูก sternum ยื่นออกมาเหนือระดับอก คล้ายอกนก ทำให้ antero-posterior diameter เพิ่มขึ้น
-Funnel chest หรืออกบุ๋ม กระดูก sternum ยุบเข้าไปคล้ายกรวย ทําให้ posterior diameter แคบลง
-Barrel shape หรือ อกถังเบียร์ กระดูก sternum นูนออกมาจนเห็นผิดสังเกต สัดส่วน ระหว่าง antero-posterior diameter กับ lateral diameter เป็น 1:1
1.2 ขนาดของทรวงอก
ภาวะปกติ ทรวงอกขนาดเท่ากันทั้ง 2 ข้าง ช่องซี่โครงไม่แคบหรือกว้างเกิน
ภาวะผิดปกติ ทรวงอกไม่เท่ากัน ช่องซี่โครงแคบ
1.3 การเคลื่อนไหวของทรวงอก
ภาวะปกติ : การเคลื่อนไหวทรวงอกสัมพันธ์กับการหายใจ และเท่ากันทั้ง 2 ข้าง
ภาวะผิดปกติ : การเคลื่อนไหวของทรวงอกไม่สัมพันธ์กับการหายใจ หรือไม่เท่ากัน
ตรวจในท่านั่ง หากผู้รับบริการอาการหนักจะตรวจในท่านอน
การคลํา
2.1 การคลําส่วนต่าง ๆ ของทรวงอก คลํากล้ามเนื้อ กระดูก
ภาวะปกติ : rib cage จะยืดหยุ่น กระดูก sternum ไม่ค่อยเคลื่อนที่ กระดูกสันหลังอยู่กับที่
ภาวะผิดปกติ : มีก้อน แผล ตําแหน่งกดเจ็บ มี crepitus
2.2 การคลำขยายตัวของทรวงอก (ปอด) (expansion of thorax or lung)
-ด้านหลัง จัดท่าให้ผู้รับบริการนั่ง แขนทั้ง2อยู่ด้านหน้า หรืออยู่ในท่ากอดอก
วางฝ่ามือทั้งสองทาบทรวงอกด้านหลัง
ให้นิ้ว หัวแม่มือทั้งสองวางทอดขนานไปกับซี่โครงส่วนอกที่ 10 (T10)
-ด้านหน้า จัดท่าให้ผู้ป่วยนั่งหรือนอน ผู้ตรวจยืนด้านหน้าทาบฝ่ามือทั้งสองกับทรวงอก นิ้วหัวแม่มือทั้งสองวางทอดไปตาม costal margin หัวแม่มืออยู่ที่ xiphoid process
ภาวะปกติ : ฝ่ามือทั้งสองรู้สึกถูกดันขยายออกเท่ากัน
ภาวะผิดปกติ : ความรู้สึกถูกดันขยายขณะหายใจของมือทั้งสองข้างไม่เท่ากัน
2.3 การคลํา tactile (vocal) fremius เป็นการตรวจการสั่นสะเทือนที่เกิดจากเสียงที่ผู้รับ
การเคาะทรวงอก (ปอด)
ภาวะปกติ จะได้ยินเสียงเคาะชนิด resonance ทั่วทั้งปอด ด้านหน้ามีเสียง dullness
ภาวะผิดปกติ พบเสียง hyperresonance เช่นใน ภาวะ pneumothorax
การฟัง
3 อย่าง
1)การฟังเสียงหายใจ (breath sound)
2)การฟังเสียงพูด ice sound)
3)การฟังเสียงผิดปกติ (adventitious Sound)
Crepitation หรือ crackle ได้ยินขณะหายใจเข้า ลักษณะเสียงไม่ต่อเนื่อง (discrete, discontinuous) เกิดจากอากาศผ่านน้ำเมือกในหลอดลมฝอย
การตรวจหัวใจ (Heart)
การดู สังเกตสีผิว หลอดเลือดดําบริเวณทรวงอก และรูปร่างทรวงอกโดยเฉพาะบริเวณ precordium ลักษณะรูปร่างและตําแหน่งการเต้น
ภาวะปกติ สีผิวทรวงอกเหมือนสีผิวกาย ไม่มีรอยโรค หลอดเลือดดําไม่โป่งพอง บริเวณ precordium
ภาวะผิดปกติ ผิวหนังเขียวคล้ำ อาจพบ spider nervi หลอดเลือดดําที่ผนังทรวงอกขยาย ผิดปกติ
การคลํา
ตําแหน่ง apex beat (point of maximum impulse (PMI)
คนปกติจะอยู่ที่ช่องซี่โครงที่ 5 ตัดกับ mid clavicular line
การเคาะ
ภาวะปกติ ริมซ้ายของหัวใจจะอยู่ไม่เกินแนว mid clavicular line และริมขวา
จะเกินขอบขวาของ sternum เล็กน้อยเท่านั้น
ภาวะผิดปกติ ริมซ้ายและริมขวาของหัวใจกว้างเกินปกติ
การฟัง
ภาวะปกติ จะได้ยินเสียงหัวใจอย่างน้อย 2 เสียง
ภาวะผิดปกติ อัตราการเต้นของหัวใจผิดปกติ จังหวะไม่สม่ำเสมอ มีเสียง murmur
การตรวจหลอดเลือดดำที่คอ (Jugular vein)
จัดท่านั่งศีรษะสูง 45 องศา
หนุนหมอน 2 ใบ
ภาวะปกติ โป่งพอง ไม่เกิน 2 เซนติเมตร
ภาวะผิดปกติ โป่งพอง เกินกว่า 4 เซนติเมตร
การตรวจเต้านม
4 ส่วน
upper inner (1)
upper outer (2)
lower inner (3)
lower outer (4)
ภาวะปกติ เต้านมทั้งสองข้างไม่ควรแตกต่างกันมาก ไม่มีก้อน
ภาวะผิดปกติ มีลักษณะเหมือนผิวส้ม
การตรวจรักแร้
เพื่อตรวจต่อมน้ำเหลืองบริเวณรักแร้
ภาวะปกติ คลำไม่พบก้อน คลำไม่พบต่อมน้ำเหลือง
ภาวะผิดปกติ : พบก้อนหรือต่อมน้ำเหลืองขนาดใหญ่กว่าปกติ
นางสาวกัลชิญา อทุมชาย UDA6280001 นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2