Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการสร้างแบบสอบถามและแบบสังเกต แบบสอบถาม, นางสาวศิริวรรณ บุญศรัทธา…
หลักการสร้างแบบสอบถามและแบบสังเกต
แบบสังเกต (observation form)
ประเภทของการสังเกต
การสังเกตทางตรง (Direct Observation
การสังเกตทางอ้อม (Indirect Observation)
การตัดสินหรือให้คะแนนการปฏิบัติ
ใช้เทคนิคการสังเกต
ประเมินเพียงครั้งเดียวอาจเกิดความคลาดเคลื่อน
ประเมินผลการปฏิบัติงานในขณะการดำเนินงาน
การเตรียมตัวเพื่อให้การสังเกตมีความตรง
ศึกษา/วางแผนล่วงหน้าและจัดทำรายการ
สนใจเพียง 1-2 พฤติกรรมที่จะศึกษา
แยกประเด็นที่จะสังเกตออกจากกันเพื่อไม่ให้สับสน
ความเที่ยงเพิ่มได้โดยเพิ่มจำนวนเวลา สังเกตมากขึ้น
บันทึกและสรุปการสังเกตทันทีที่สังเกตได้
หลักในการสร้างแบบสังเกต
แบบสังเกตการปฏิบัติงานเริ่มจากการวิเคราะห์งานที่ปฏิบัติ
แบบสังเกตพฤติกรรม เริ่มจากการวิเคราะห์พฤติกรรม
ผลจากการวิเคราะห์นำมากำหนดเกณฑ์
ข้อดี/ข้อเสีย
ข้อดี
ได้ข้อมูลที่เป็นจริงมาก
ใช้ได้สะดวก ทุกเวลา ทุกสถานที่
ใช้ได้ดีกับข้อมูลเชิงคุณภาพ
ข้อเสีย
เสียเวลาสังเกตนาน
ถ้าขาดทักษะจะทำให้บันทึกข้อมูลคลาดเคลื่อนได้
ผู้สังเกตอาจมีความลำเอียงหรืออคติต่อผู้ถูกสังเกต
ถ้าผู้ถูกสังเกตรู้ตัวจะปิดบังพฤติกรรมที่แท้จริง
แบบสอบถาม (Questionnaire)
ส่วนประกอบของแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 3 คำถามที่เกี่ยวกับข้อมูลที่ต้องการศึกษา
ส่วนที่ 1 คำชี้แจงในการตอบแบบสอบถาม
หลักในการสร้างแบบสอบถาม
ไม่ควรใช้คำย่อ
หลีกเลี่ยงคำถามที่ทำให้เกิดความลำบากใจ
หลีกเลี่ยงการใช้ประโยคปฏิเสธซ้อน
ไม่ชี้นำการตอบให้เป็นไปแนวทางใดแนวทางหนึ่ง
ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย ข้อความสั้น
ไม่ควรเป็นแบบสอบถามที่มีจำนวนมากเกินไป
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
ขั้นตอนการสร้าง
กำหนดวัตถุประสงค์
ระบุเนื้อหาหรือประเด็นหลักที่จะถาม
กำหนดประเภทของคำถาม
คำถามปลายเปิด
คำถามปลายปิด
ร่างแบบสอบถาม
ตอนที่ 1 ข้อมูลเบื้องต้น/ข้อมูลทั่วไป
ตอนที่ 2 ข้อมูลหลักเกี่ยวกับเรื่องที่จะถาม
ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ
ตรวจสอบข้อคำถามว่าครอบคลุมตามวัตถุประสงค์
ตรวจสอบความเที่ยงตรงเนื้อหา
ทดลองใช้เพื่อดูความเชื่อมั่น
ปรับปรุงแก้ไข และจัดพิมพ์
ข้อดี/ข้อเสีย
ข้อดี
ใช้ได้ผลดีในกลุ่มตัวอย่างมีขนาดใหญ่
ไม่เกิดความลำเอียง
สามารถส่งแบบสอบถามให้ผู้ตอบทางไปรษณีย์ได้
สะดวกและประหยัดกว่าวิธีอื่น
ข้อเสีย
ส่งทางไปรษณีย์มักได้แบบสอบถามกลับคืนมาน้อย
ใช้ได้เฉพาะกับคนที่อ่านและเขียนหนังสือได้
ข้อมูลเกิดความคลาดเคลื่อนได้
นางสาวศิริวรรณ บุญศรัทธา เลขที่ 58 ชั้นปีที่ 3 ห้อง A