Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5, นางสาวฉวีวรรณ มิ่งศรีสุข 6001210811 เลขที่ 33 Sec.B - Coggle…
บทที่ 5
พระราชบัญญัติ
ยา พ.ศ. ๒๕๑๐
หมวด ๑ คณะกรรมการยำ
มาตรา ๖ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการยา”
มาตรา ๗ กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในตำแหน่งคราวละสองปี
กรรมการซึ่งพ้นจำกตำแหน่งอาจได้รับกำรแต่งตั้งอีกได้
มาตรา ๘ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามมาตรา ๗ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่งเมื่อ ตาย ลาออก รัฐมนตรีให้ออก เป็นบุคคลล้มละลาย เป็นคนไร้ความสามารถ ได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษา และถูกสั่งพักหรือเพิกถอน
หมวด ๒ การขออนุญำตและออกใบอนุญำตเกี่ยวกับยำแผนปัจจุบัน
มาตรา ๑๒ ห้ำมมิให้ผู้ใดผลิต ขำย หรือน ำหรือสั่งเข้ำมำในรำชอำณำจักรซึ่งยำแผนัจจุบัน เว้นแต่จะได้รับใบอนุญำตจำกผู้อนุญำต
มาตรา ๑๔ อนุญำตจะออกใบอนุญำตให้ผลิต ขำย หรือน ำ หรือสั่งเข้ำมำในรำชอำณำจักรซึ่งยำแผนปัจจุบันได้ เมื่อปรำกฏว่ำผู้ขออนุญาต
มาตรา ๑๕ ประเภทของใบอนุญำตส ำหรับยำแผนปัจจุบัน
หมวด ๓ หน้าที่ของผู้รับอนุญำตเกี่ยวกับยำแผนปัจจุบัน
มาตรา ๑๙ ห้ามมิให้ผู้รับอนุญาต ผลิตหรือขายยาแผนปัจจุบันนอกสถานที่ที่กำหนด ผลิตหรือขายยาแผนปัจจุบันไม่ตรงตามประเภท
มาตรา ๒o ผู้รับอนุญำตผลิตยำแผนปัจจุบันต้องมีเภสัชกรชั้นหนึ่งอย่ำงน้อยสองคนเป็นผู้มีหน้ำที่ปฏิบัติกำรตำมมำตรำ ๓๘
มาตรา ๒๑ ผู้รับรับอนุญำตขำยยำแผนปัจจุบัน ต้องมีเภสัชกรชั้นหนึ่งหรือเภสัชกรชั้นสอง เป็นผู้มีหน้ำที่ปฏิบัติกำรตำมมำตรำ ๓๙ และมำตรำ ๔๐
หมวด ๔ หน้ำที่ของเภสัชกร ผู้ประกอบวิชำชีพเวชกรรม ผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันชั้นหนึ่งในสำขำทันตกรรม กำรผดุงครรภ์หรือกำรพยำบำลหรือผู้ประกอบกำรบ ำบัดโรคสัตว
มาตรา ๓๘ ให้เภสัชกรชั้นหนึ่งตำมมำตรำ ๒๐ ประจ ำอยู่ ณ สถำนที่ผลิตยำตลอดเวลำที่เปิดท ำกำร
มำตรำ ๔๐ ให้เภสัชกรชั้นสองตำมมำตรำ ๒๑ ปฏิบัติตำมมำตรำ ๓๙ เช่นเดียวกับเภสัชกรชั้นหนึ่ง
มาตรา ๔๑ ให้เภสัชกรชั้นหนึ่ง เภสัชกรชั้นสอง ผู้ประกอบวิชำชีพเวชกรรม หรือผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันชั้นหนึ่งในสำขำทันตกรรม
หมวด ๕ กำรขออนุญำตและออกใบอนุญำตเกี่ยวกับยำแผนโบรำณ
มำตรำ ๔๖ ห้ำมมิให้ผู้ใดผลิต ขำย หรือน ำหรือสั่งเข้ำมำในรำชอำณำจักร ซึ่งยำแผนโบรำณ เว้นแต่จะได้รับใบอนุญำตจำกผู้อนุญำต
มาตรา ๔๘ ้อนุญำตจะออกใบอนุญำตให้ผลิต ขำย หรือน ำ หรือสั่งเข้ำมำในรำชอำณำจักรซึ่งยำแผนโบรำณได
มำตรำ ๕๒ ในกรณีผู้อนุญำตไม่ออกใบอนุญำตหรือไม่อนุญำตให้ต่ออำยุใบอนุญำตผู้ขออนุญำตหรือผู้ขอต่ออำยุใบอนุญำตมีสิทธิอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อรัฐมนตรีภำยในสำมสิบ
หมวด ๖ หน้ำที่ของผู้รับอนุญำตเกี่ยวกับยำแผนโบรำณ
มาตรา ๕๓ ห้ำมมิให้ผู้รับอนุญำตผลิตหรือขำยยำแผนโบรำณนอกสถำนที่ที่ก ำหนดไว้ในใบอนุญำต เว้นแต่เป็นกำรขำยส่ง
มาตรา ๕๔ ผู้รับอนุญำตผลิตยำแผนโบรำณ ต้องมีผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบรำณเป็นผู้มีหน้ำที่ปฏิบัติตำมมำตรำ ๖๘ ประจ ำอยู่ตลอดเวลำที่เปิดท ำกำร
มาตรา ๕๕ ้รับอนุญำตขำยยำแผนโบรำณ ต้องมีผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบรำณเป็นผู้มีหน้ำที่ปฏิบัติกำรตำมมำตรำ ๖๙ ประจ ำอยู่ตลอดเวลำที่เปิดท ำกำร
หมวด ๗ หน้าที่ของผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ
หมวด ๘ ยาปลอม ยาผิดมาตรฐาน ยาเสื่อมคุณภาพ
หมวด ๙ การประกาศเกี่ยวกับยา
หมวด ๑๐ การขึ้นทะเบียนตำรับยา
หมวด ๑๑ การโฆษณา
หมวด ๑๒ พนักงานเจ้าหน้าที่
หมวด ๑๓ การพักใช้ใบอนุญาตและการเพิกถอนใบอนุญาต
หมวด ๑๔ บทกำหนดโทษ
พระราชบัญญัติ วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๕๙
หมวด ๑ คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
หมวด ๒ การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับวัตถุ
ออกฤทธิ
หมวด ๓ หน้าที่ของผู้รับอนุญาต
หมวด ๔ หน้าที่ของเภสัชกร
หมวด ๕ วัตถุออกฤทธิ์ที่ห้ามผลิต ขาย นําเข้าหรือส่งออก
หมวด ๖ การขึ้นทะเบียนวัตถุตํารับ
หมวด ๗ การโฆษณา
หมวด ๘ พนักงานเจ้าหน้าที่
หมวด ๙ การพักใช้ใบอนุญาตและการเพิกถอนใบอนุญาต
หมวด ๑๐ มาตรการควบคุมพิเศษ
หมวด ๑๑ การค้าระหว่างประเทศ
หมวด ๑๒ บทกําหนดโทษ
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545
หมวด 1 สิทธิรับการบริการสาธาณสุข
มาตรา 5 บุคคลทุกคนมีสิทธิได้รับบริการด้านสุขภาพที่มาตราฐานและประสิทธิภาพตามที่กำหนดโดยพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 6 บุคคลใดประสงค์จะใช้สิทธิตามมาตรา 5 ให้ยื่นคำขอลงทะเบียนต่อสำนักงานหรือหน่วยงานที่สำนักงานกำหนด เพื่อเลือกหน่วยบริการ เป็นหน่วยบริการประจำ
มาตรา 7 บุคคคลที่ได้ลงทะเบียนแล้ว ให้ใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุขได้ที่หน่วยงานบริการประจำของตน
หมวด 2 คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา 13 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา 14 กรรมการตามมาตรา 13
มาตรา 15 กรรมการตามมาตรา วรรคหนึ่ง (3) (4)และ (6)
หมวด 3 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา 24 ให้มีสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เป็นหน่วยงานของรัฐมีฐานะเป็นนิติบุคคล อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรี
มาตรา 25 ให้สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติตั้งอยู่ที่กรุงเทพมหานคร หรือในจังหวัดใกล้เคียง
มาตรา 26 ให้สำนักงานมีอำนาจหน้าที่ ดังที่ได้รับมอบหมาย
หมวด 4 กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา 38 ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรียกว่า กองทุนหลักประกันสุขภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย สนับสนุน และส่งเสริมการจัดการบริการสุขภาพ
มาตรา 40 การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงินกองทุน รวมทั้งการนำเงินกองทุนไปจัดหาผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
มาตรา 41 ให้คณะกรรมการกันเงินเงินจำนวนไม่เกินร้อยละหนึ่งของเงินที่จะจ่ายให้หน่วยบริกาารไว้ใช้เป็นเงินช่วยเหลือเบื้องต้นให้แก่ผู้รับบริการ
หมวด 5 หน่วยบริการและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
มาตรา 44 ให้สำนักงานจัดให้มีการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการแล้วประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ
มาตรา 45 ให้หน่วยบริการมีหน้าที่ ให้บริการสาธาณสุข ให้ข้อมูลการบริการสาธาณสุข ให้ข้อมูลเกี่ยวกับชื่อแพทย์ เจ้าหน้าที่สาธารสุข หรือผู้รับผิดชอบในการดูแล รักษาความลับของผู้รับบริการ และจัดทำระบบข้อมูลให้บริการทางสุขภาพ
มาตรา 46 หน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการตามาตรา 44 และหน่วยบริการท่รับการส่งต่อผู้รับบริการ มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข
หมวด 6 คณะกรรมการการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
มาตรา 48 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธาาณสุข
มาตรา 49 การดำรงตำแหน่ง วาระการดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่งและการประชุมของคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน ให้นำมาตรา 14 15 16 และ 17 มาบังคับใช้โดยอนุโลม
มาตรา 50 คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตราฐานมีอำนาจหน้าที่ ควบคุมคุณภาพและมาตราฐานหน่วยบริการ กำกับดูแลให้บริการสาธาณสุข เสนออัตราราคากลางของโรคทุกโรคต่อคณะกรรมการ กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการร้องเรียนของผู้ถูกละเมิด
หมวด 7 พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา 54 ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพรบ.นี้ ให้พนักงานเจ้าที่มีอำนาจเข้าไปในสถานที่ของหน่วยบริการ
มาตรา 55 ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัวแก่บุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง
มาตรา 56 ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพรบ.นี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
หมวด 8 การกำกับมาตรฐานหน่วยบริการ
มาตรา 57 ในกรณีที่สำนักงานตรวจสอบพบว่าหน่วยบริการใดไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานการให้บริการสาธาณสุข ให้รายงควบคุมคุณภาพและมาตรต่อคณะกรรมการสอบสวนพิจารณา
มาตรา 58 ในกรณีที่ผลการสอบสวนตามมาตรา 57 ปรากฏว่าหน่วยบริการใดไม่ปฏิบัติตามมาตราฐานที่กำหนด ให้คณะกรรมการควบคุมคุณภาพดำเนินการ
มาตรา 59 ในกรณีที่ผู้รับบริการใดไม่ได้รับความสะดวกตามสมควรให้ผู้นั้นมีสิทธิร้องเรียนต่อสำนักงานเพื่อให้มีการสอบสวน
หมวด 9 บทกำหนดโทษ
มาตรา 63 ผ้ใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 64 ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อำนวยความสะดวกตามสมควรแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติหน้าที่ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558
หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 6 เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ให้รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการมีอำนาจประกาศกำหนด
มาตรา 7 เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมีอำนาจประกาศกำหนด
มาตรา 8 เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดที่อาจจะเข้ามาภายในราชอาณาจักร
หมวด 2 คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
มาตรา 11 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการโรคติดต่อแห่ง"
มาตรา 12 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสามปี
มาตรา 13 นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งเมื่อ ตาย ลาออก รัฐมนตรีให้ออก เป็นบุคคลล้มละลาย เป็นคนไร้ความสามารถ ได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก
หมวด 3 คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
มาตรา 20 ให้มีคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
มาตรา 21 การแต่งตั้ง วาระการดํารงตําแหน่ง และการพ้นจากตําแหน่งของกรรมการตามมาตรา 20
มาตรา ๒๒ ให้คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดมีอํานาจหน้าที่ ดำเนินตามนโยบาย จัดทำแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง รายงานสถานการณ์โรคติดต่อต่ออธิบดี
หมวด 4 คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร
มาตรา 26 ให้มีคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร
มาตรา 27 การแต่งตั้ง วาระการดํารงตําแหน่ง และการพ้นจากตําแหน่งของกรรมการตามมาตรา 26
มาตรา 28 ให้คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานครมีอํานาจหน้าที่
การเฝ้าระวังโรคติดต่อ
มาตรา 31 ในกรณีที่มีโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง หรือโรคระบาดเกิดขึ้นให้บุคคลดังต่อไปนี้แจ้งต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
มาตรา 32 เมื่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อได้รับแจ้งตามมาตรา 31
มาตรา 33 ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยว่ามีโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังหรือโรคระบาดเกิดขึ้นในต่างประเทศ ให้กรมควบคุมโรคประสานงานไปยังองค์การอนามัยโลก
หมวด 6 การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
มาตรา 34 เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ เมื่อเกิดดรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดหรือมีเหตุสงสัยว่าได้เกิดโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดในเขตพื้นที่ใด ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่นั้นมีอำนาจ
มาตรา 35 ในกรณีที่มีเหตุจําเป็นเร่งด่วนเพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ของโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาด
มาตรา 37 ให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบช่องทางเข้าออกปฏิบัติตามวิธีการเพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
หมวด 7 เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
มาตรา 45 เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อมีอํานาจ
มาตรา 46 ให้มีเครื่องแบบ เครื่องหมาย และบัตรประจําตัวสําหรับเจ้าพนักงานคบคุมโรคติดต่อเพื่อแสดงตัวขณะปฏิบัติหน้าที่ต่อบุคคลที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๔๗ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
หมวด 8 ค่าทดแทน
มาตรา 48 ในการดำเนินการของเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อตามพระราชบัญญัตินี้ หากเกิดความเสียหายแก่บุคคลหรือทรัพย์สินของบุคคลใดจากการเฝ้าระวัง การป้องกัน หรือการควบคุมโรคให้ทางราชการชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นให้แก่ผู้นั้นตามความจำเป็น
หมวด 9 บทกําหนดโทษ
มาตรา 49 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการ คณะกรรมการด้านวิชาการหรือคณะอนุกรรมการตามมาตรา 18
มาตรา 50 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งตามมาตรา 31 ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา 51 ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อตามมาตรา 34
พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ.๒๕๕๘
หมวด ๑ คณะกรรมการเครื่องสําอาง
หมวด ๒ การจดแจ้งและการรับจดแจ้งเครื่องสําอาง
หมวด ๓ ฉลากเครื่องสําอาง
หมวด ๔ การควบคุมเครื่องสําอาง
หมวด ๕ การเพิกถอนใบรับจดแจ้งเครื่องสําอาง
หมวด ๖ การโฆษณา
หมวด ๗ พนักงานเจ้าหน้าที่
หมวด ๘ การอุทธรณ์
หมวด ๙ บทกําหนดโทษ
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.๒๕๕๑
หมวด ๑ คณะกรรมการ
ส่วนที่ ๑ คณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
ส่วนที่ ๒ คณะกรรมการสถานบําบัดรักษา
หมวด ๒ สิทธิผู้ป่วย
หมวด ๓ การบําบัดรักษาทางสุขภาพจิต
ส่วนที่ ๑ ผู้ป่วย
ส่วนที่ ๒ ผู้ป่วยคดี
ส่วนที่ ๓ การฟื้นฟูสมรรถภาพ
หมวด ๔ การอุทธรณ์
หมวด ๕ พนักงานเจ้าหน้าที่
หมวด ๖ บทกำหนดโทษ
บทเฉพาะกาล
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
หมวด 1 สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
มาตรา 5 บุคคลมิสิทธิในการดำรงชิวิตในสิ่งแวดลล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุภาพ
มาตรา 6 สุขภาพของหญิงในด้านสุขภาพทางเพศและสุขภาพระบบเจริญพันธุ์ซึ่งมีความจำเพาะ ซับซ้อนและมีอิทธิพลต่อสุขภาพหญิงตลอดช่วงชีวิต ต้องได้รับกรสร้างเสริม และคุ้มครองและเหมาะสม
มาตรา 8 ในการบริการสาธารณสุข บุคลากรด้านสุขภาพต้องแจ้งข้อมูลด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการให้ผู้รับบริการทราบอย่างเพียงพอที่ผู้บริการจะใช้ประกอบการตัดสินใจรับหรือไม่รับบริการใด
หมวด 2 คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา 13 ให้มีคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เรียกโดยย่อว่า "คสช"
มาตรา 14 กรรมการตามมตรา 13 ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา 15 การเลือกกรรมการตามมาตรา 13(6)
หมวด 3 สำนักงานคณะกรรมการสุขแห่งชาติ
มาตรา 26 ให้จัดตั้งสำนักงานคะกรรมการสุจภาพแหงชาติ ขึ้นเป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่เป็นส่วนข้าราชการ
มาตรา 27 ให้สำนักงานมีหน้าที่และอำนาจรับผิดชอบดังที่ได้รับมอบหมาย
มาตรา 30 การเก็บรักษาและการใช้จ่ายเงินของสำนักงานให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการบริหารกำหนด
หมวด 4 สมัชชาสุขภาพ
มาตรา 40 การจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่ หรือสมัชชาเฉพาะประเด็นหรือสนับสนุนให้ประชาชนรวมตัวกันเพื่อจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่ หรือสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็นให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ คสช.กำหนด
มาตรา 41 ให้ คสช.จัดให้มีสมัชชาสุขภาพแห่งชาติอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
มาตรา 42 ในการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ให้ คสช.แต่งตั้งคณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพคณะหนึ่งมีตามที่ คสช.กำหนด
หมวด 5 ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา 46 ให้ คสช.จัดธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติเพื่อใช้เป็นกรอบและแนวทางในการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์และการดำเนินด้านสุขภาพของประเทศเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาความเห็นชอบ
มาตรา 47 ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ต้องสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
มาตรา 48 ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ และนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพตามมาตรา 25(2) ที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบอยู่แล้ว
หมวด 6 บทกำหนด
มาตรา 49 ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 7 หรือมาตรา 9 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 50 ให้โอนบรรดากิจการ ทรัพสิน สิทธิ หนี้สิน และเงินงบประมาณของสถาบันวิจับระบบสาธาณณสุขในส่วนของสำนกงานปฏิรูประบบสุขภาแห่งชาติ
มาตรา 51 ให้นำบรรดาข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หรือคำสั่งเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของสำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติมาใช้บังคับการปฏิบัติงานของสำนักงานโดยอนุโลม จนกว่าจะมีข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หรือคำสั่งที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้
พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541
หมวด 1 คณะกรรมการสถานพยาบาล
มาตรา 7 ให้มีคณะกรรมการเรียกว่า คณะกรรมการสถานพยาบาล
มาตรา 10 การประชุมองคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งนึ่งของจำนวนคณะกรรมการทั้งหมด
มาตรา 11 คณะกรรมการต้องมีหน้าที่ให้คำปรึกษา ให้ความเห็น และให้คำแนะนำแก่รัฐมนตรีหรือผู้อนุญาต
หมวด 2 การประกอบกิจการสถานพยาบาลและการดำเนินสถานพยาบาล
มาตรา 14 สถานพยาบาลมี 2 ประเภท
มาตรา 15 ให้รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการมีอำนาจประกาศกำหนดมาตรฐานการบริการสถานพยาบาล
มาตรา 16 ห้ามมิให้บุคคลใดประกอบกิจการสถานพยาบาล เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
หมวด 3 พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา 46 ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจ
มาตรา 47 ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจําตัวบัตรประจําตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้เป็นไปตามแบบที่กําหนดในกฎกระทรวง
หมวด 4 การปิดสถานพยาบาลและการเพิกถอนใบอนุญาติ
มาตรา 49 เมื่อปรากฏว่าผุ้ได้รับอนุญาตหรือผู้ดำเนินการไม่ถูกต้องพรบ.นี้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจสั่งให้ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดำเนินการ
มาตรา 50 ในกรณีที่ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดําเนินการ กระทําการหรือละเว้นกระทําการใด ๆ จนเป็นเหตุให้เกิดอันตราย หรือความเดือนร้อนอย่างร้ายแรงแก่ผู้ที่อยู่ในสถานพยาบาล
มาตรา 52 เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองดูแลผู้ป่วยในสถานพยาบาล
หมวด 5 บทกำหนดโทษ
มาตรา 56 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการตามมาตรา 13 ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา 57 ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 16 หรือมาตรา 24 วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน5 ปี หรือปรับไม่เกิน1 แสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 58 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้อนุญาติตามมาตรา 39 หรือมาตรา 45 หรือคำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา 49 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งงจำทั้งปรับ
บทเฉพาะกาล
มาตรา 76 ใบอนุญาตให้ตั้งสถานพยาบาล และใบอนุญาตให้ดําเนินการสถานพยาบาลที่ออกตามพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2504 .ให้ถือว่าอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลหรือใบอนุญาตให้ดำเนินการสถานพยาบาล
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.๒๕๒๒
หมวด ๑ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
หมวด ๒ การคุ้มครองผู้บริโภค
ส่วนที่ ๑ การคุ้มครองผบรู้ ิโภคในด้านการโฆษณา
ส่วนที่ ๒ การคุ้มครองผู้บริโภคในด้านฉลาก
ส่วนที่ ๒ ทวิ
การคุ้มครองผู้บริโภคในด้านสัญญา
ส่วนที่ ๓ การคุ้มครองผู้บริโภคโดยประการอื่น
หมวด ๓ การอุทธรณ์
หมวด ๔ บทกำหนดโทษ
นางสาวฉวีวรรณ มิ่งศรีสุข 6001210811 เลขที่ 33 Sec.B