Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์,…
บทที่ 3 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
กฎหมายอาญาสำหรับพยาบาลและการกระทำความผิดที่พบบ่อย
ประเภทของความรับผิดทางอาญา
ความผิดต่อแผ่นดิน
เป็นความผิดที่ส าคัญและร้ายแรง มีผลกระทบต่อผู้เสียหายและสังคมส่วนรวม เช่น การกระท าที่มีผลต่อความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร
ความผิดต่อส่วนตัว
เป็นความผิดที่ไม่ร้ายแรง มีผลกระทบต่อผู้เสียหายฝ่ายเดียว และ กฎหมายบัญญัติประเภทไว้ชัดเจน เช่น ความผิดฐานฉ้อโกง ยักยอกทรัพย์ผู้อื่น
ลักษณะสำคัญของความรับผิดทางอาญา
ต้องมีบทบัญญัติความผิด และกำหนดโทษไว้โดยชัดแจ้ง
ต้องตีความเคร่งครัดตามตัวอักษร
ไม่มีผลย้อนหลังที่เป็นโทษ
หลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญา
กฎหมายบัญญัติว่าการกระทำนั้นเป็นความผิดและกำหนดโทษ
การกระทำ
กระทำโดยเจตนา ประมาท หรือไม่เจตนา
เหตุยกเว้นความรับผิดทางอาญา
อายุความ
โทษทางอาญา
โทษประหารชีวิต
โทษจำคุก
โทษกักขัง
โทษปรับ
โทษริบทรัพย์สิน
ความรับผิดทางอาญาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการพยาบาล
ความประมาทในการประกอบวิชาชีพ (Malpractice / Professional negligence / Professional misconduct)
ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ
ใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์การแพทย์ไม่ถูกต้อง
ความบกพร่องด้านการสื่อสาร
ความบกพร่องด้านการบันทึก
ความบกพร่องด้านการประเมินและเฝ้าระวังอาการ
ความบกพร่องด้านการไม่พิทักษ์สิทธิของผู้ป่วย
ความประมาทในการประกอบวิชาชีพกับการปฏิเสธการรักษา
ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายเล็กน้อยแก่ร่างกายหรือจิตใจ
ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายถึงแก่ความตาย
การทอดทิ้งหรือละเลยผู้ป่วย
ไม่มาขึ้นเวร ไม่ดูแลผู้ป่วย หลับเวร ดูละคร หรือขาดความเอาใจใส่ดูแลผู้ป่วยตามหน้าที่
การเปิดเผยความลับของผู้ป่วย (Confidential disclosure)
การปฏิเสธความช่วยเหลือผู้ที่ตกอยู่ในอันตรายต่อชีวิต
การไม่ช่วยเหลือหรือปฏิเสธการช่วยเหลือผู้อื่นที่อาจเป็นอันตรายต่อชีวิต ทั้งๆ ที่ตนอาจช่วย ได้ (ปอ. มาตรา 374) ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ
ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร: การปลอมเอกสารและการทำหรือรับรองเอกสารเท็จ
ความผิดฐานปลอมเอกสาร
ความผิดฐานทำหรือรับรองเอกสารเท็จ
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท
การทำให้หญิงแท้งลูก (Induced abortion)
การทำให้ตนเองแท้งลูก
ย่อมมีความผิดและได้รับ โทษ จำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
การทำให้หญิงแท้งลูกโดยผู้เสียหายยินยอม
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับ ไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
การทำให้หญิงแท้งลูกโดยผู้เสียหายไม่ยินยอม
ระวางโทษจำคุกไม่เกิน 7 ปี หรือปรับไม่เกิน 140,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
การพยายามทำให้หญิงแท้งลูก
การทำให้หญิงแท้งที่ถูกกฎหมาย
จำเป็นต้องกระทำเนื่องจากสุขภาพหญิงตั้งครรภ์
หญิงตั้งครรภ์เนื่องจากถูกข่มขืนกระทำชำเรา
ประมวลกฎหมายอาญาที่เกี่ยวข้อง เช่น
มาตรา ๒ บุคคลจักต้องรับโทษในทางอาญาต่อเมื่อได้กระทำการอันกฎหมายที่ใช้ในขณะกระทำ นั้นบัญญัติเป็นความผิดและกำหนดโทษไว้ และโทษที่จะลงแก่ผู้กระท าความผิดนั้น ต้องเป็นโทษที่บัญญัติไว้ใน กฎหมาย
มาตรา ๒๘ ผู้ใดต้องโทษปรับ ผู้นั้นจะต้องชำระเงินตามจำนวนที่กำหนดไว้ในคำพิพากษาต่อศาล
มาตรา ๓๒ ทรัพย์สินใดที่กฎหมายบัญญัติไว้ว่า ผู้ใดทำหรือมีไว้เป็นความผิด ให้ริบเสียทั้งสิ้น ไม่ว่าเป็นของผู้กระทำความผิด และมีผู้ถูกลงโทษตามคำพิพากษาหรือไม่
มาตรา ๗๓๓๓ เด็กอายุยังไม่เกินสิบปี กระทำการอันกฎหมายบัญญัติเป็นความผิดเด็กนั้นไม่ต้องรับโทษ
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์สำหรับพยาบาลและการกระทำความผิดที่พบบ่อย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายแพ่ง
กฎหมายแพ่ง
เป็นส่วนหนึ่งในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ปพพ.) ที่กำหนดสิทธิ หน้าที่ และ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนโดยทุกฝ่ายมีฐานะเท่าเทียมกัน และ สามารถต่อรองเพื่อตกลงกระทำการใดๆ ภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย
กฎหมายพาณิชย์
เป็นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้าขายหรือกิจการใดๆ ที่ได้กระท าในเรื่องหุ้นส่วน บริษัท ประกันภัย ตั๋วเงิน เป็นต้น
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับวิธีการด าเนินพิจารณาพิพากษาคดีในกรณีที่ เกิดข้อพิพาทในทางแพ่งขึ้น เช่น วิธีฟ้อง ศาลที่ฟ้อง วิธีพิจารณาของศาลตลอดจนการบังคับให้ฝ่ายที่ผิดปฏิบัติ ตามคำพิพากษา เป็นต้น
นิติกรรม
ปพพ. มาตรา 149
นิติกรรม หมายความว่า การใดๆ อันทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ”
นิติกรรม
การกระทำของบุคคลด้วยใจสมัครและถูกต้องตามกฎหมาย มุ่งให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือระงับสิทธิระหว่างบุคคล
องค์ประกอบของนิติกรรม
ผู้กระทำต้องแสดงออกในฐานะที่เป็นเอกชน
การกระทำโดยเจตนา
การแสดงเจตนาโดยชัดแจ้ง
การแสดงเจตนาโดยปริยาย
การกระทำที่ชอบด้วยกฎหมาย
ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวสิทธิ
ประเภทของนิติกรรม
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามจำนวนคู่กรณี
นิติกรรมฝ่ายเดียว
นิติกรรมหลายฝ่าย
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามการมีผลของนิติกรรม
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนายังมีชีวิต
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนาไม่มีชีวิต
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามค่าตอบแทน
นิติกรรมที่มีค่าตอบแทน
นิติกรรมที่ไม่มีค่าตอบแทน
ความสามารถของบุคคลในการให้การยินยอมรักษาพยาบาล
บุคคล
บุคคลธรรมดา
มนุษย์ที่มีชีวิตรอดภายหลังการคลอดจากครรภ์มารดา ในทาง กฎหมายกำหนดให้สภาพบุคคลเริ่มตั้งแต่เมื่อคลอดและอยู่รอดเป็นทารก และสิ้นสุดลงเมื่อตาย
การตายโดยธรรมชาติ
การป่วยตาย แก่ตาย หรือถูกะ่าตายของบุคคล ทำให้สภาพ บุคคลสิ้นสุด ก่อให้เกิดผลทางกฎหมายทั้งทางแพ่งและอาญา โดยในทางแพ่งบรรดาสิทธิหน้าที่ ความรับผิด และทรัพย์สินของผู้ตาย ย่อมตกทอดไปยังทายาท
การสาบสูญ
การที่บุคคลได้ไปจากภูมิล าเนาหรือถิ่นที่อยู่ และไม่มีใครรู้แน่ว่า บุคคลนั้น ยังมีชีวิตอยู่หรือไม่ เป็นเวลาติดต่อกัน 5 ปี ในเหตุการณ์ปกติ หรือเป็นเวลา 2 ปี ในกรณีที่มีเหตุอันตรายจาก การรบ การสงคราม หรือยานพาหนะอับปาง รวมทั้งศาลมีค าสั่งให้บุคคลนั้นเป็นคนสาบสูญ มีผลให้บุคคลนั้น เป็นคนตายตามกฎหมาย
นิติบุคคล
ผู้เยาว์ (Minor)
บุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ในทางกฎหมาย บุคคลจะพ้นจากการ เป็นผู้เยาว์หรือบรรลุนิติภาวะใน 2 กรณี คือ อายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ หรือการสมรส (ปพพ. มาตรา 20) เมื่อหญิงและชายอายุครบ 17 ปีบริบูรณ์ และได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม
คนไร้ความสามารถ (Incompetence
คนวิกลจริต (Unsound mind) หรือ อยู่ ในภาวะผัก (Vegetative state) ที่คู่สมรส ผู้สืบสันดาน (ลูก หลาน เหลน ลื้อ) บุพการี (บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด) ผู้อนุบาล หรือพนักงานอัยการยื่นเรื่องต่อศาล และศาลมีค าสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ (ปพพ. มาตรา 28) ทั้งนี้คนวิกลจริต
คนเสมือนไร้ความสามารถ (Quasi – incompetence)
บุคคลที่ไม่สามารถ จัดท าการงานโดยตนเอง หรือจัดกิจการไปในทางเสื่อมเสียแก่ทรัพย์สินของตนเองหรือครอบครัว และศาลสั่ง ให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ (ปพพ. มาตรา 32) บุคคลที่ศาลจะสั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ ต้อง ปรากฎว่าบุคคลนั้นไม่สามารถท างานได้ เนื่องจากมีเหตุบกพร่องอย่างใดอย่างหนึ่ง
ลูกหนี้ที่ถูกศาลสั่งเป็นบุคคลล้มละลาย
ตาม พรบ. ล้มละลาย พ.ศ. 2483 เมื่อศาลมีค าสั่ง พิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้แล้ว เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เป็นผู้มีอ านาจในการจัดการ จำหน่ายทรัพย์ของลูกหนี้ และกระทำการอื่นๆ เกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนี้
สามีภริยา
เป็นผู้จัดการสินสมรสร่วมกัน จึงต้องให้ความยินยอมซึ่งกันและกันเป็นการทำนิติกรรม บางประเภท เช่น การซื้อขาย แลก เปลี่ยน การเช่าอสังหาริมทรัพย์เกิน 3 ปี การประนีประนอมยอมความ การกู้ยืมเงิน การให้โดยเสน่หาเกินฐานะ
สภาพบังคับทางแพ่ง
. โมฆะกรรม
นิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย
นิติกรรมที่ไม่ได้ทำให้ถูกต้องตามแบบที่กฎหมายกำหนด
การแสดงเจตนาโดยสำคัญผิดในสาระสำคัญแห่งนิติกรรม
โมฆียกรรม
ความสามารถของบุคคล
การแสดงเจตนาโดยวิปริต
การบังคับชำระหนี้
เป็นการชำระเงิน ส่งมอบทรัพย์สิน กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อใช้ หนี้ หรืองดกระท าการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อใช้หนี้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพหนี้
การชดใช้ค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทน
การที่กฎหมายรับรองและคุ้มครอง สิทธิผู้เสียหายให้กลับคืนสู่ฐานะเดิมมากที่สุด โดยการคืนทรัพย์สิน การใช้ราคาทรัพย์สิน หรือค่าเสียหาย เพื่อ ความเสียหายที่ก่อขึ้น ถ้าตกลงกันไม่ได้ ต้องดำเนินการฟ้องร้องต่อศาล ศาลจะวินิจฉัยตามควรแก่พฤติการณ์ และความร้ายแรงแห่งการละเมิด
ความรับผิดทางแพ่งที่เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ
สัญญา
การกระทำของบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป ที่แสดงเจตนาด้วยใจสมัครถูกต้องตรงกันที่ จะกระทำหรืองดเว้นการกระทำ และตกลงกันทุกข้อโดยไม่มีข้อสงสัย โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะก่อให้เกิดผล ผูกพันโดยชอบตามกฎหมาย
ความรับผิดจากการละเมิด
การกระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
การกระทำโดยจงใจหรือประมาท
ทำให้บุคคลอื่นเสียหาย
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่เกี่ยวข้อง เช่น
มาตรา ๑๕ สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารกและสิ้นสุดลงเมื่อตาย ทารกในครรภ์มารดาก็สามารถมีสิทธิต่างๆ ได้ หากว่าภายหลังคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก
มาตรา ๑๙ บุคคลย่อมพ้นจากภาวะผู้เยาว์และบรรลุนิติภาวะเมื่อมีอายุยี่สิบปีบริบูรณ์
มาตรา ๒๐ ผู้เยาว์ย่อมบรรลุนิติภาวะเมื่อทำการสมรส หากการสมรสนั้นได้ท าตามบทบัญญัติ มาตรา ๑๔๔๘
มาตรา ๒๓ ผู้เยาว์อาจทำการใดๆ ได้ทั้งสิ้น ซึ่งเป็นการต้องทำเองเฉพาะตัว
มาตรา ๒๕ ผู้เยาว์อาจทำพินัยกรรมได้เมื่ออายุสิบห้าปีบริบูรณ์
มาตรา ๒๙ การใดๆ อันบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถได้กระทำลง การนั้นเป็นโมะฆียะ
มาตรา ๓๖ ถ้าเหตุที่ศาลได้สั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถได้สิ้นสุดไปแล้ว ให้นำ บทบัญญัติมาตรา ๓๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๖๔ คำสั่งศาลให้เป็นคนสาบสูญหรือค าสั่งถอนค าสั่งให้เป็นคนสาบสูญ ให้ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๖๕ นิติบุคคลจะมีขึ้นได้ก็แต่ด้วยอาศัยอำนาจแห่งประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่น
มาตรา ๑๒๒ มูลนิธิที่ได้จดทะเบียนแล้วเป็นนิติบุคคล
มาตรา ๑๖๔ การแสดงเจตนาเพราะถูกข่มขู่เป็นโมะียะ
มาตรา ๑๗๐๓ พินัยกรรมซึ่งบุคคลที่มีอายุยังไม่ครบสิบห้าปีบริบูรณ์ทำขึ้นนั้น เป็นโมะะ
นางสาวสลิลทิพย์ สุวรรณประสิทธิ์ 6001211054 Sec B เลขที่ 45