Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทนำ จริยศาสตร์และกฎหมายวิชาชีพ (Enthics and Laws in Nusing) - Coggle…
บทนำ จริยศาสตร์และกฎหมายวิชาชีพ
(Enthics and Laws in Nusing)
จริยศาสตร์กับศาสนา
ศาสนาอิสลาม
อิสลาม เชื่อว่าองค์ประกอบของมนุษย์ได้แก่กายและวิญญาณ เมื่อตายจะทำให้วิญญาณคืนไปสู่อาณาจักรพระเจ้า
ศาสนาคริสต์
จุดหมายสูงสุดของชีวิตคือการกลับสู่อาณาจักรของ พระเจ้า ความตายช่วยให้ชีวิตมนุษย์พ้นจากโลกของวัตถุซึ่งมีความเห็นแก่ตัว
ศาสนาพุทธ
นิพพาน(ความดับสนิทแห่งตัณหา)
ชีวิตเรามีคุณค่า การกระทำใดๆที่พรากชีวิตถือว่าผิด
จุดมุ่งหมายของชีวิตมนุษย์ทรรศนะของนักปราชญ์กรีก
กลุ่มที่ 1 แบบสุขนิยม Hedonism
ได้แก่ โสฟิสท์,อิฟิดิวเรียน ซึ่งถือว่าความสุขสบายของชีวิตเป็นสิ่งประเสิฐสุดที่ควรแสวงหา มนุษย์จึงดำเนินชีวิตเพื่อให้มีคความสุข
กลุ่มที่ 2 แบบศานตินิยม
ได้แก่ ทรรศนะของโสกรา,ฟีเพจโล ซึ่งถือหลักว่าสิ่งประเสริฐสุดที่เราควรแสวงหา คือ ความรู้และความสงบทางจิตใจ การใช้ปัญญา เหตุผล
โครงสร้างทางจริยธรรม
1.ความรู้เชิงจริยธรรม(Knowledge)
การมีความรู้ว่าในสังคมนั้นถือว่าการกระทำใดที่ควรทำหรทอไม่ควรทำ
2.ทัศนคติเชิงจริยธรรม (Attitude)
เป็นความรู้สึกของบุคคลเกี่ยวกับลักษณะหรือพฤติกรรมต่างๆว่าชอบหรือไม่ชอบลักษณะนั้นๆ
3.เหตุผลเชิงจริยธรรม
การเลือกใช้เหตุผลในการเลือกที่จะกระทำหรือไม่กระทำพฤติกรรมใดอย่างหนึ่ง
4.พฤติกรรมเชิงจริยธรรม
การที่บุคคลเลือกแสดงพฤติกรรมที่สังคมยอมรับ
วิวัฒนาการจริยธรรมในการพยาบาล
ระยะที่ 1จริยธรรมศาสนา,ยุคกันดารพยาบาล คือการสอนให้เชื่่อ,จดจำ,เมตตา
ระยะที่ 2 การศึกษาเจริญขึ้น ฝึกคิดอย่างมีเหตุผล ได้แก่ จรรณยาบรรณฉบับสากล
ระยะที่ 3 เรื่มดูแลคนทั้งคน (Holistic care) ประสานศาสตร์ของมนุษย์กับวิทยาศาสตร์มากขึ้น
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์ (Freud)
มีพื้นฐานมาจากแรงขับใต้จิตสำนึกของคน มีอิทธิพลจากสังคมมากกว่าพันธุกรรม
เกิดในช่วงอายุ 10 ปีแรก และฝังรากลึกยากแก่การเปลี่ยนแปลง
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของเปียเจต์ (Piaget)
พัฒนาการทางจริยธรรมขึ้นอยู่กับสติปัญญาและความคิดของบุคคล
จริยธรรมแฝงอยู่ในการเล่นของเด็กการใช้ตนเป็นศูยน์กลางและพัฒนามาเป็นความร่วมมือกับผู้อื่น
ยึดหลักเคารพต่อกฎเกณฑ์ทางสังคมและยึดหลักความยุติธรรม
1.ขั้นก่อนจริยธรรม PreMoral stage ยึดหลักคำสั่ง
2.ขั้นยึดหลักแห่งตนเอง Autonomous การตัดสินถูกผิด
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
จริยธรรมก่อนกฎเกณฑ์สังคม (Pre Conventional lerel)
การรับกฎเกณฑ์และข้อกำหนดว่าอะไรดี/ไม่ดี จากผู้มีอำนาจ เมื่อเด็กถูกลงโทษเด็กก็จะคิดว่าสิ่งนั้นผิด จึงหลีกเลี่ยง พบในเด็ก 2-7 ปี
จริยธรรมตามเกณฑ์ (Conventional lerel)
ความคาดหวังและการยอมรับในสังคม
อยู่ในกฎระเบียบ พบในเด็กอายุ 13-16 ปี
จริยธรรมเหนือกฎเกณฑ์ (Post Conventional or past autonomous)
ตัดสินข้อขัดแย้งแล้วนำมาไตร่ตรองบนพื้นฐานจริยธรรมที่ยอมรับด้วยตนเอง
ทำตามคำสัญญา พบในเด็กอายุ 16 ปีขึ้นไป
ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรมสำหรับคนไทย
1.ส่วนของดอก
เปรียบเสมือนพฤติกรรมคนดีเเละคนเก่ง
2.ส่วนของลำต้นที่สมบูรณ์
เปรียบเสมือนลักษณะทางจิตใจ
1.ทัศนคติ,ค่านิยมที่ดี,คุณธรรม
2.มีเหตุผลเชิงจริยธรรม
3.ลักษณะมุ่งอนาคต
4.เชื่ออำนาจในตน
5.มีแรงจูงใจให้สัมฤทธิ์
3.ส่วนของรากต้นไม้
เปรียบเสมือนจิตที่เป็นพื้นฐานที่ชอนไชหาอาหารเลี้ยงลำต้นให้สมบูรณ์
สติปัญญา
ประสบการณ์ทางสังคม
สุขภาพจิตดี
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของแบนดูรา
เรียนรู้โดยการสังเกตุหรือลอกเลียนแบบ
เรียนรู้จากประสบการณ์ของบุคคล
ควบคุมพฤติกรรมด้วยความรู้และความเข้าใจ
ตัดสินจริยธรรม เกี่ยวกับความถูกผิดตามหลักความประพฤติ