Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4(4.1พระราชบัญญัติวิชาชีพ) - Coggle Diagram
บทที่ 4(4.1พระราชบัญญัติวิชาชีพ)
หมวด ๑ สภาการพยาบาล
มาตรา ๖ ให้มีสภาการพยาบาล มีวัตถุประสงค์และอานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้สภาการพยาบาลเป็นนิติบุคคล
มาตรา ๗ สภาการพยาบาลมีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้
(๑)ควบคุมความประพฤติของผปู้ระกอบวชิาชีพการพยาบาลการผดุงครรภ์หรือการพยาบาล และการผดุงครรภ์ ให้ถูกตอ้ งตามจริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
(๓) ส่งเสริมความสามคั คีและผดุงเกียรติของสมาชิก
(๔) ช่วยเหลือ แนะนา เผยแพร่ และให้การศึกษาแก่ประชาชนและองคก์รอื่นในเร่ืองที่เกี่ยวกับการพยาบาล การผดุงครรภ์ และการสาธารณสุข
(๕) ให้คาปรึกษา หรือขอ้ เสนอแนะต่อรัฐบาลเกี่ยวกับ ปัญหาการพยาบาล การผดุงครรภ์และการสาธารณสุข
(๖) เป็นตัวแทนของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ในประเทศไทย
(๗)ผดุงความเป็นธรรมและส่งเสริมสวสัดิการให้แก่สมาชิก
(๒)ส่งเสริมการศึกษาการบริการ(๑)การวิจยั และความกา้วหนา้ในวิชาชีพการพยาบาลการผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
มาตรา๘(๒) สภาการพยาบาลมีอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(๑) รับขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ขอเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
(๒)สั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
(๓) ให้ความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ในระดับอุดมศึกษาของสถาบนั การศึกษาท่ีจะทาการสอนวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ เพื่อเสนอต่อ ทบวงมหาวิทยาลัย
(๔) รับรองหลักสูตรต่างๆ สาหรับการศึกษาในระดบั ประกาศนียบตั รของสถาบนั ที่จะทาการ สอนวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
(๕) รับรองหลักสูตรต่างๆ สาหรับการฝึ กอบรมในวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ของ สถาบนัการศึกษาท่ีจะทาการฝึกอบรมในวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
(๖) รับรองวิทยฐานะของสถาบนั ที่ทาการสอนและฝึ กอบรมตาม ( ๔ ) และ ( ๕ )
(๗) รับรองปริญญา ประกาศนียบตั รเทียบเท่าปริญญา ประกาศนียบตั ร หรือวฒุิบัตรในวชิ าชีพ การพยาบาลและการผดุงครรภ์ของสถาบนั ต่างๆ
(๘)ออกหนงัสืออนุมตัิหรือวุฒิบตัรเกี่ยวกบัความรู้หรือความชานาญเฉพาะทางและหนงัสือ แสดงวุฒิอื่นในวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ให้แก่ผูป้ ระกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
(๙) ดาเนินการให้เป็นไปตามวตั ถุประสงค์ของสภาการพยาบาล
มาตรา ๙ สภาการพยาบาลอาจมีรายได้ดัง ต่อไปนี้
(๑) เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน
(๒) ค่าจดทะเบียนสมาชิกสามัญค่าบารุง และค่าธรรมเนียมต่าง ๆ
(๓) ผลประโยชน์จากกิจกรรมอื่นของสภาการพยาบาลตามวตั ถุประสงคท์ ี่กาหนดในมาตรา ๗ (๔) เงินและทรัพยส์ ินซ่ึงมีผูใ้ ห้แก่สภาการพยาบาล
(๕) ดอกผลของเงินและทรัพย์สินอื่นตาม (๑) (๒) (๓) และ (๔)
หมวด ๒ สมาชิก
มาตรา ๑๑ สภาการพยาบาลประกอบด้วยสมาชิกสองประเภท คือ
(๑) สมาชิกสามัญ ได้แก่ ผู้มีคุณสมบัติดัง ต่อไปนี้
(ก) มีอายุไม่ต่ากว่าสิบแปดปีบริบูรณ์
(ข) (๑)มีความรู้ในวิชาชีพการพยาบาลหรือการผดุงครรภโดยได้รับปริญญา ประกาศนียบัตร เทียบเท่าปริญญา หรือประกาศนียบัตรในสาขาการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ที่สภาการพยาบาลรับรอง
(ค) ไม่เป็นผูป้ ระพฤติเสียหาย ซ่ึงคณะกรรมการเห็นว่าจะนามาซ่ึงความเสื่อมเสีย เกียรติศักด์ิแห่งวิชาชีพ
(๒) สมาชิกกิตติมศักดิ์ ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่่งสภาการพยาบาลเชิญให้เป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์
มาตรา ๑๒ สิทธิและหน้าที่ของสมาชิกสามัญ มีดังต่อไปนี้
(๑) ขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือ การพยาบาลและการผดุงครรภ์ และขอหนังสืออนุมัติ หรือวุฒิบัตรเกี่ยวกับความรู้หรือความชานาญ เฉพาะทางหรือหนังสือแสดงวุฒิอื่นในวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ โดยปฏิบัตตามข้อบังคับ สภาการพยาบาลว่าด้วยการน้ัน
(๒) แสดงความเห็นเป็นหนังสือเกี่ยวกบั กิจการของสภาการพยาบาลส่งไปยัง คณะกรรมการเพื่อ พิจารณา และในกรณีที่สมาชิกสามัญร่วมกันตั้งแต่ห้าสิบคนขึ้นไปเสนอให้คณะกรรมการพิจารณาเรื่อง ใดที่เกี่ยวกับกิจการของสภาการพยาบาล คณะกรรมการต้องพิจารณาและแจ้ง ผลการพิจารณาให้ผู้เสนอ ทราบโดยมิชักช้า
(๓) เลือกตั้งรับเลือกตั้งหรือรับเลือกเป็นกรรมการ
(๔) ผดุงไว้ซึ่งเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพและปฎิบัติตนตามพระราชบัญญตินี้
มาตรา ๑๓ สมาชิกภาพของสมาชิกสามัญสิ้นสุดลงเมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๑๑ (๑)
หมวด๓ คณะกรรมการ
มาตรา๑๔(๑) ให้มีคณะกรรมการสภาการพยาบาล ประกอบด้วยผู้แทนกระทรวงสาธารณสุขหาคนผู้แทนกระทรวงกลาโหมสามคนผู้แทนกระทรวงมหาดไทยหนึ่งคนผู้แทนทบวงมหาวทิยาลัยสี่คน ผู้แทนกรุงเทพมหานครหนึ่งคน ผู้แทนสภากาชาดไทยหนึ่งคน นายกสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยใน พระบรมราชูปถัมภข์ องค์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และสมาชิกสามัญ สภาการพยาบาลอีกสิบหกคนซึ่งได้รับเลือกตั้ง โดยสมาชิกสามัญของสภาการพยาบาล เป็นกรรมการและให้เลขาธิการเป็น กรรมการและเลขานุการ
มาตรา ๑๕(๑) คณะกรรมการอาจแต่งตั้ง สมาชิกกิตติมศักดิ์หรือสมาชิกสามัญเป็นกรรมการที่ ปรึกษาได้ ทั้งนี้จานวนกรรมการที่ปรึกษาต้องไม่เกินหนึ่งในสี่ของคณะกรรมการให้กรรมการที่ปรึกษาดารงตาแหน่งตามวาระของคณะกรรมการท่ีแต่งตั้ง
มาตรา๑๖(๒) ให้คณะกรรมการเลือกกรรมการเพื่อดำรงตาแหน่งนายกสภาการพยาบาลอุปนายก สภาการพยาบาลคนที่หนึ่ง และอุปนายกสภาการพยาบาลคนที่สอง ตำแหน่งละหนึ่งคน
มาตรา ๑๗ การเลือกตั้ง กรรมการตามมาตรา ๑๔ การแต่งตั้ง กรรมการที่ปรึกษาตามมาตรา ๑๕ และการเลือกกรรมการเพื่ออดำรงตาแหน่งต่างๆ ตามมาตรา ๑๖ ให้เป็นไปตามข้อบังคับสภาการพยาบาล
มาตรา ๑๘ กรรมการนอกจากปลัด กระทรวงสาธารณสุขและกรรมการที่ปรึกษาต้องมีคุณสมบัติดัง ต่อไปนี้
(๑) เป็นผูู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
(๒) ไม่เคยถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต
(๓) ไม่เคยเป็นบุคคลล้มละลาย
มาตรา ๒๐ นอกจากการพ้น จากตำแหน่งตามวาระ กรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้ง และรับเลือกตั้งพ้นจากตำแหน่ง เมื่อ
(๑) สมาชิกภาพสิ้นสุดลงตามมาตรา ๑๓
(๒)ขาดคุณสมบัตตามมาตรา๑๘
(๓) ลาออก
มาตรา ๒๑ ในกรณีตำแหน่งกรรมการซึ่งไดรับเลือกตั้งว่าลงไม่เกินกึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการ ดังกล่าวทั้งหมดก่อนครบวาระให้คณะกรรมการเลือกสมาชิกสามัญผู้มีคุณสมบัติตามมาตรา ๑๘ เป็น กรรมการแทนภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ตำแหน่งกรรมการน้ันว่างลง
มาตรา ๒๒ ให้คณะกรรมการมีอานาจหน้าที่ดัง ต่อไปนี้
(๑) บริหารกิจการสภาการพยาบาลให้เป็นไปตามวัตถุประสงคที่กำหนดตามมาตรา ๗
(๒)แต่งต้ังคณะอนุกรรมการจริยธรรม คณะอนุกรรมการสอบสวนและคณะอนุกรรมการอื่นเพื่อทำกิจการหรือพิจารณาเรื่องต่างๆ อันอยู่ในขอบเขตแห่งวัตถุประสงค์ของสภาการพยาบาล
(๓) ออกข้อบังคับสภาการพยาบาล
มาตรา ๑๙ ให้กรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้ง และรับเลือกตั้ง มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปี และ อาจได้รับแต่งตั้ง หรือรับเลือกตั้ง ใหม่ได้แต่จะดำรงตำแหน่งเกินสองคราวติดต่อกันไม่ได้
มาตรา ๒๓ นายกสภาการพยาบาล อุปนายกสภาการพยาบาลคนท่ีหน่ึง อุปนายกสภาการ พยาบาลคนท่ีสอง เลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์ และเหรัญญิก
4.1 พรบ.วิชาชีพ
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๒๘
การพยาบาล
หมายความว่า การกระทำต่อมนุษย์ การดูแลและการช่วยเหลือ เมื่อเจ็บป่วย การฟื้นฟูสภาพ การป้องกัน โรค และการส่งเสริมสุขภาพ รวมท้ังการช่วยเหลือแพทย์ กรพทำการรักษาโรค ท้ังน้ีโดยอาศัย หลักวิทยาศาสตร์และศิลปะการพยาบาล
การผดุงครรภ์
หมายความว่า การกระทาเกี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือ หญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอด และทารกแรกเกิด รวมถึงการตรวจ การทาคลอด การส่งเสริมสุขภาพและป้องกัน ความผิดปกติในระยะต้ัง ครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด รวมทั้ง การช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค ท้ังนี้ โดยอาศัยหลักการ วิทยาศาสตร์และศิลปะการผดุงครรภ์
การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
(๑) การสอน การแนะนา การให้คำปรึกษาและการแก้ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
(๒) การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล รวมท้ังการจัดสภาพแวดล้อม เพื่อการแก้ปัญหา ความเจ็บป่วย การบรรเทาอาการของโรค การลุกลามของโรค และการฟื้นฟูสภาพ
(๓) การกระทาตามวิธีที่กาหนดไว้ในการรักษาโรคเบื้องต้น และการให้ภูมิคุ้มกันโรค
(๔) ช่วยเหลือแพทย์ กระทำการรักษาโรค
การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
(๑) การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาและการแก้ป้ญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามมัย
(๒) การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอดและทารกแรกเกิด เพื่อป้องกันความผิดปกติในระยะต้ังครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด
(๓) การตรวจ การทำคลอด และการวางแผนครอบครัว
(๔) ช่วยเหลือแพทย์ กระทาการรักษาโรค
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
หมายความว่า บุคคลซึ่งได้ข้ึนทะเบียนและรับใบอนุญาต เป็นผู้ป ระกอบวิชาชีพการพยาบาลจากสภาการพยาบาล
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
หมายความว่า บุคคลซึ่งได้ข้ึนทะเบียน และรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์จากสภาการพยาบาล
“ใบอนุญาต” หมายความว่า ใบอนุญาตซึ่งสภาการพยาบาลออกให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพ การพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
“ สมาชิก ” หมายความว่า สมาชิกสภาการพยาบาล
“กรรมการ”หมายความว่ากรรมการสภาการพยาบาล
“ คณะกรรมการ ” หมายความว่า คณะกรรมการสภาการพยาบาล
“เลขาธิการ”หมายความว่าเลขาธิการสภาการพยาบาล
“พนักงานเจ้าหน้าท่ี”หมายความว่าผู้ซึ้งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “ รัฐมนตรี ” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
หมวด ๔ การดาเนินกิจการของคณะกรรมการ
มาตรา ๒๔ การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่า กึ่งหนึ่งของจำนวน กรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
มาตรา ๒๕ สภานายกพิเศษจะเข้าฟังการประชุมชี้แจงแสดงความเห็นในที่ประชุมคณะ กรรมการ หรือจะส่งความเห็นเป็นหนังสือไปยังคณะกรรมการในเรื่องใดๆ ก็ได้
หมวด ๕ การควบคุมการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
มาตรา๒๗ ห้ามมิให้ผู้ใดซึ่งมิไดเ้ป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล หรือมิไดเ้ป็นผู้ประกอบ วิชาชีพการผดุงครรภ์ หรือมิได้เป็นผผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ กระทำการพยาบาล หรือการผดุงครรภ์ หรือแสดงด้วยวิธีใด ๆ ให้ผู้อื่นเขา้ ใจว่าตนเป็นผู้มีสิทธิประกอบวิชาชีพดังกล่าว โดยมิได้ข้ึนทะเบียนและรับใบอนุญาต เว้นแต่ในกรณีอย่างใดอย่างหน่ึง
มาตรา ๒๘ (๓)การขึ้นทะเบียน การออกใบอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาต การออกหนังสือ อนุมัติหรือวุฒิบัตรเกี่ยวกับความรู้หรือความชานาญเฉพาะทาง และหนังสือแสดงวุฒิอื่นในวิชาชีพการ พยาบาลและการผดุงครรภ์ ให้เป็นไปตามข้อบังคับสภาการพยาบาล
มาตรา ๒๙ การขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาตให้แบ่งเป็นสามประเภท คือ ผ้ประกอบวิชาชีพ การพยาบาล ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์และผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
มาตรา๓๐ ผู้้มีสิทธิขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพตามมาตรา ๒๙
มาตรา ๓๑ ผู้ขอข้ึนทะเบียนและรับใบอนุญาตต้องเป็นสมาชิกสามัญแห่งสภาการพยาบาลและ มีคุณสมบัติอื่นตามที่กาหนดไว้ในข้อบังคับสภาการพยาบาล
มาตรา๓๒ ผู้ประกอบวชิาชีพการพยาบาลการผดุงครรภ์หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ต้องรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ตามที่ได้กาหนดไว้ในข้อบังคับสภาการพยาบาล
มาตรา๓๓ บุคคลผู้ซึ่งไดร้ับความเสียหายเพราะผู้ประกอบวชิาชีพการพยาบาลการผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ประพฤติผิดจริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ มีสิทธิกล่าวหาผู้ก่อให้เกิดความเสียหายนั้น โดยทำเรื่องยื่นต่อสภาการพยาบาล
มาตรา ๓๔ เมื่อสภาการพยาบาลได้ร้บเรื่องการกล่าวหา หรือการกล่าวโทษตามมาตรา ๓๓ หรือในกรณีที่คณะกรรมการมีมติว่ามีพฤติการณ์อันสมควรให้มีการพิจารณาเกี่ยวกับจริยธรรมแห่งวิชาชีพ ของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ผู้ใดให้เลขาธิการ เสนอเรื่องดังกล่าวต่อประธานอนุกรรมการจริยธรรมโดยไม่ชักช้า
มาตรา ๓๕ ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการจริยธรรมจากสมาชิกสามัญ ประกอบด้วยประธานคนหนึ่ง และอนุกรรมการมีจำนวนรวมกันไม่น้อยกว่าสามคนมีหน้า ที่แสวงหาข้อเท็จจริงใน เรื่องที่ได้รับตามมาตรา ๓๔ แล้ว ทำรายงานพร้อมทั้งความเห็นเสนอต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณา
มาตรา ๓๖ เมื่อคณะกรรมการได้รับรายงานและความเห็นของคณะอนุกรรมการจริยธรรมแล้ว ให้คณะกรรมการพิจารณารายงานและความเห็นดังกล่าว แล้วมีมติอย่างใดอย่างหนึ่ง
มาตรา ๓๗ ใหค้ ณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการสอบสวนจากสมาชิกสามัญประกอบ ด้วยประธานคนหนึ่ง และอนุกรรมการมีจานวนรวมกันไม่น้อยกว่าสามคนมีหน้าที่สอบสวน สรุปผลการ สอบสวนและเสนอสานวนการสอบสวน พร้อมท้ั้งความเห็นต่อคณะกรรมการเพื่อวินิจฉยั ชี้ขาด
มาตรา ๓๘ ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะอนุกรรมการจริยธรรมและของคณะอนุกรรมการ สอบสวนตามพระราชบัญญัต นี้ให้อนุกรรมการจริยธรรมและอนุกรรมการสอบสวนเป็นเจ้า พนักงานตาม ประมวลกฎหมายอาญา มีอานาจเรียกบุคคลใดๆ มาให้ถ้อยคำและมีหนังสือแจ้งให้บุคคลใดๆ ส่งเอกสารหรือวัตถุเพื่อประโยชน์แก่การดาเนินงานของคณะอนุกรรมการดังกล่าว
มาตรา ๓๙ ให้ประธานอนุกรรมการสอบสวนแจ้งข้อ กล่าวหา หรือข้อกล่าวโทษพร้อมทั้งส่่ง สาเนาเรื่องที่กล่าวหา หรือกล่าวโทษ ให้ผู้ถูกกล่าวหาหรือผู้ถูกกล่าวโทษไม่น้อยกว่าสิบห้าวัน ก่อนวัน เริ่มทำการสอบสวน
มาตรา ๔๐ เมื่อคณะอนุกรรมการสอบสวนทาการสอบสวนเสร็จสิ้นแล้ว ให้เสนอสานวนการ สอบสวนพร้อมท้ังความเห็นต่อคณะกรรมการโดยไม่ชักช้าเพื่อวินิจฉัยชี้ขาด
มาตรา ๔๑ เมื่อคณะกรรมการได้รับสานวนการสอบสวน และความเห็นของคณะอนุกรรมการ สอบสวนแล้ว ให้คณะกรรมการพิจารณาสานวนการสอบสวนและความเห็นดังกล่าว
หมวด ๖ บทกำหนดโทษ
มาตรา ๔๖ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๒๗ หรือมาตรา ๔๓ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๔๗ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๓๑ วรรคสามต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท
มาตรา ๔๘ ผู้ใดไม่มาให้ถ้อยคาหรือไม่ส่งเอกสารหรือวัตถุใดๆตามที่เรียกหรือแจ้งให้ส่งตามมาตรา ๓๘ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา ๔๘ ทวิผู้ใดไม่อานวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ตามความในมาตรา๔๕เบญจต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (ฉบับที่ ๒ ) พ.ศ. ๒๕๔๐ (เฉพาะมาตราที่ไม่อาจนำไปพิมพ์เพิ่มเติมไว้ในพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์พ.ศ.๒๕๒๘)
มาตรา๒๐ ให้คณะกรรมการสภาการพยาบาลตามมาตรา ๑๔ และกรรมการที่ปรึกษาตามมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์พ.ศ.๒๕๒๘ ซึ่งดารงตาแหน่งอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษายังคงดารงตาแหน่งต่อไปจนกว่าจะครบวาระตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๒๘
มาตรา๒๑ ให้ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันในสาขาการพยาบาล สาขาการผดุงครรภ์ และสาขาการพยาบาลและผดุงครรภ์ ที่ออกตามพระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะพุทธศักราช ๒๔๗๙ หรือใบอนุญาตที่ออกตามพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๒๘ ที่ยังมีผลอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับมีอายุต่อไปอีกห้าปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา๒๒ ผู้ที่ได้รับอนุปริญญาที่มีหลักสูตรการศึกษาไม่น้อยกว่าสามปีหรือประกาศนียบัตรเทียบเท่าอนุปริญญาในสาขาการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ จากสถาบันการศึกษาในประเทศไทยอยู่แล้วก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับให้มีสิทธิขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลการผดุงครรภ์หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ได้ทั้งนี้เมื่อคณะกรรมการได้พิจารณาหลักสูตร และสอบความรู้แล้ว
มาตรา ๒๓ให้ยกเลิกอัตราค่าธรรมเนียมท้ายพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๒๘ และให้ใช้อัตราค่าธรรมเนียมท้ายพระราชบัญญัตินี้แทน
มาตรา ๒๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้