Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พรบ.ที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิภาพและสุขภาพของประชาชน - Coggle Diagram
พรบ.ที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิภาพและสุขภาพของประชาชน
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ
หมวด 1 สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
บุคคลมีหน้าที่ร่วมกับหน่วยงานของรัฐในการดำเนินการให้เกิดสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมตามวรรคหนึ่ง
สุขภาพของเด็ก คนพิการ คนสูงอายุ คนด้อยโอกาสในสังคมและกลุ่มคนต่างๆที่มีความจำเพาะในเรื่องสุขภาพต้องได้รับการสร้างเสริมและคุ้มครองอย่างสอดคล้องและเหมาะสมด้วย
ในการบริการสาธารณสุข บุคลากรด้านสาธารณสุขต้องแจ้งข้อมูลด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการให้ผู้รับบริการทราบอย่างเพียงพอที่ผู้รับบริการจะใช้ประกอบการตัดสินใจในการรับบริการ
ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล ผู้ใดจะนำไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทำให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้
หมวด 2 คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
จัดให้มีหรือส่งเสริม สนับสนุนให้มีกระบวนการในการพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการติดตาและประเมินผลเกี่ยวกับระบบสุขภาพแห่งชาติ
เสนอแนะหรือให้คำปรึกษาในการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัตินี้
หมวด 3 สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
รับผิดชอบงานธุรการของ คสช. และคณะกรรมการบริหาร
ประสานงานกับหน่วยงานด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ของรัฐบาลและหน่วยงานอื่นๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนที่ดำเนินงานเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพ
ให้สำนักงานมีอำนาจในการปกครอง ดูแล บำรุงรักษา ใช้และจัดหาประโยชน์จากทรัพย์สินของสำนัก
หมวด 4 สมัชชาสุขภาพ
จัดให้มีสมัชชาสุขภาพอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
คณะกรรมการมีอำนาจกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการเกี่ยวกับการจัดประชุมและหลักเกณฑ์อื่นที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่
หมวด 5 ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
ใช้เป็นกรอบและแนวทางในการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตรืและการดำเนินงานด้านสุขภาพของประเทศเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้เห็นชอบ
หมวด 6 บทกำหนดโทษ
ผู้ใดฝ่าฝืนต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
พระราชบัญญัติ หลักประสุขภาพแห่งชาติ
หมวด 1 สิทธิการรับบริการสาธารณสุข
บุคคลทุกคนมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพตามที่กำหนดโดยพระราชบัญญัติ
การจ่ายเงินค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขตามมาตรานี้ ให้ถือเป็นการจ่ายเงินทดแทนในส่วนของค่ารักษาพยาบาล
หมวด 2 คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ผู้แทนเอกชนซึ่งมัวัตถุประสงค์ที่มิใช่เป็นการแสวงหาผลกำไรและดำเนินกิจกรรม
รับฟังความคิดเห็นจากผู้ให้บริการและผู้รับบริการเพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงคุณภาพแมามาตราฐานบริการศาธารณสุข
หมวด 3 สำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ
สำนังานมีหน้าที่รับผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการ เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงาน บริหารกองทุนให้เป็นไปตามระเบียบ ตรวจสอบหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่าย
หมวด 4 กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ
หมวด 5 หน่วยบริการและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
เพื่อดำเนินการลงทะเบียนเลือกเป็นหน่วยบริการประจำของตน
มีหน้าที่ ให้บริการสาธารณสุข รวมทั้งการใช้วัคซีน ยา เวชภัณฑ์ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการบริการ ชื่อผู้ให้บริการหรือผู้รับผิดชอบในการดูแล รักษาความลับของผู้รับบริการ
หมวด 6 คณะกรรมการการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารรสุข
ควบคุมคุณภาพมาตรฐานหน่วยบริการและเครือข่ายบริการ
กำกับดูแลการให้บริการสาธารณสุขของหน่วยบริการให้มีคุณภาพและมาตรฐาน
กำหนดมาตรการควบคุมและส่งเสริมคุณภาพและมาตรฐานหน่วยงาน
สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน
หมวด 7 พนักงานเจ้าหน้าที่
มีอำนาจเข้าไปในสถานที่ของหน่วยบริการในระหว่างเวลาทำการเพื่อตรวจสอบ สอบถามข้อเท็จจริง เอกสารหลักฐาน ไปตรวจสอบเพื่อให้ได้ข้อเท็จจริง
หากพบการกระทำผิดให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจยึดอายัดเอกสารหลักฐาน ทรัพย์สิน หรือสื่งของเพื่อใช้เป็นพยานหลักฐานในการพิจารณา
หมวด 8 การกำกับมาตรฐานหน่วยบริการ
หากพบว่าหน่วยหน่วยบริการใดไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานการให้บริการสาธารณสุขที่กำหนด ให้รายงานต่อคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานเพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนพิจารณา
หมวด 9 บทกำหนดโทษ
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
พระราชบัญญัติสถานพยาบาล
หมวด 1 คณะกรรมการสถานพยาบาล
หน้าที่ให้คำปรึกษา ให้ความเห็น และให้คำแนะนำแก่รัฐมนตรี เช่น การออกกฎกระทรวง การอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพบริการของสถานพยาบาล
หมวด 2 การประกอบกิจการสถานพยาบาลและการดำเนินการสถานพยาบาล
สถานพยาบาลจัดให้มีการศึกาา อบรม การวิจัยทางการแพทย์และสาธารณสุข
ห้ามมิให้บุคคลใดประกอบกิจการสถานพยาบาล เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
หมวด 3 พนักงานเจ้าหน้าที่
มีอำนาจเข้าไปในสถานที่หรือยานพาหะที่พนักงานเจ้าหน้าที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นสถานพยาบาลที่ไม่ได้รับอนุญาต
มีอำนาจยึดหรือายัดบรรดาเอกสารหรือสิ่งของที่เกี่ยวกับการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัติ
หมวด 4 การปิดสถานพยาบาลและการเพิกถอนใบอนุญาต
ผู้รับอนุญาตตาย และไม่มีผู้แสดงความจำนงเพื่อขอประกอบกิจการหรือผู้แสดงความจำนงนั้น
ผู้ใดถูกเพิกถอนแล้วจะขอรับใบอนุญาตใหม่อีกไม่ได้จนกว่าจะพ้นกำหนดสองปีนับแต่วันวันที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต
หมวด 5 บทกำหนดโทษ
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ผู้ใดมีหน้าที่ต้องแจ้งให้ผู้อนุญาตทราบ แต่ไม่แจ้งภายในกำหนดเวลาต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ
หมวด 1 บททั่วไป
เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดที่อาจจะเข้ามาภายในราชอาณาจักร
หมวด 2 คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
กำหนดนโยบาย วางระบบ และแนวทางปฏิบัติเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ
พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อหรือโรคระบาด
ให้คำปรึกษา แนะนำ และประสานงานแก่หน่วยงานของรัฐและเอกชน
หมวด 3 คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
ดำเนินการตามนโยบาย ระบบ และแนวทางปฏิบัติในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ
จัดทำแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมดรคติดต่ออันตราย
รายงานสถานการณ์โรคติดต่อหรือโรคที่ยังไม่ทราบสาเหตุที่อาจเป็นโรคระบาด
หมวด 4 คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร
ดำเนินการตามนโยบาย ระบบ และแนวทางปฏิบัติในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ
จัดทำแผนปฏิบัติการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย
รายงานสถานการณ์โรคติดต่อหรือโรคระบาด
สนับสนุน ส่งเสริม ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในกรุงเทพมหานคร
หมวด 5 การเฝ้าระวังโรคติดต่อ
หมวด 6 การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
สั่งปิดตลาด สถานที่ประกอบหรือจำหน่ายอาหาร
สั่งให้ผู้ที่มีเหตุสงสัยว่าเป็นโรคติดต่อหยุดการประกอบอาชีพเป็นการชั่วคราว
จัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ
กำจัดยุงและพาหะนำโรค
หมวด 7 เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
มีเครื่องแบบ เครื่องหมาย และบัตรประจำตัวสำหรับเจ้าหน้าที่พนักงานควบคุมโรคติดต่อ
หมวด 8 ค่าทดแทน
หมวด 9 บทกำหนดโทษ
พระราชบัญญัติยา
หมวด 1 คณะกรรมการยา
การอนุญาตผลิตยา ขายยา หรือนำหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักร
การกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการผลิตยา การขายยา
หมวด 2 การขออนุญาตและออกใบอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนปัจจุบัน
การผลิตยาตามใบสั่งยาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือของผู้ประกอบโรค
การขายยาสมุนไพรที่ไม่ใช่ยาอันตราย การขายยาสามัญประจำบ้าน
ผู้อนุญาตจะออกใบอนุญาตให้ผลิต ขาย หรือนำ หรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งยาแผนปัจจุบันได้ เมื่อปรากฎว่าเป็นเจ้าของกิจการ
หมวด 3 หน้าที่ของผู้รับอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนปัจจุบัน
ผู้รับอนุญาตขายยาต้องมีเภสัชกรชั้นหนึ่ง
จัดให้มีการวิเคราะห์วัตถุดิบและยาที่ผลิตขึ้นก่อนนำออกจากสถานที่ผลิต
จัดให้มีฉลากตามที่ขึ้นทะเบียนตำรับยาผนึกไว้ที่ภาชนะและหีบห่อบรรจุยาที่ผลิตขึ้น
จัดให้มีการแยกเก็บยาเป็นส่วนสัด เช่น ยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ ยาอื่นๆ
หมวด 4 หน้าที่ของเภสัชกร ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ควบคุมการผลิตยาให้เป็นไปโดยถูกต้องตามตำรับยา
ควบคุมการปฏิบัติเกี่ยวกับฉลากและเอกสารกำกับยา
ควบคุมการแบ่งบรรจุยาและการปิดฉลากที่ภาชนะและหีบห่อบรรจุยา
หมวด 5 การขออนุญาตและออกใบอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนโบราณ
ผู้อนุญาตจะออกใบอนุญาตให้ผลิต ขาย หรือนำ ต้องเป็นเจ้าของกิจการ มีสถานที่ผลิตยา
หมวด 6 หน้าที่ของผู้รับอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนโบราณ
จัดให้มีป้าย ณ ที่เปิดเผยหน้าสถานที่ผลิตยาที่ระบุไว้ในใบอนุญาต
จัดให้มีฉลากตามที่ขึ้นทะเบียนตำรับยาผนึกไว้ที่ภาชนะและหีบห่อบรรจุยา
หมวด 7 หน้าที่ของผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ
ควบคุมการผลิตยาให้เป้นไปโดยถูกต้องตามตำรับยาที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้
หมวด 8 ยาปลอม ยาผิดมาตรฐาน ยาเสื่อมคุณภาพ
หมวด 9 การประกาศเกี่ยวกับยา
ประโยชน์ในการพัฒนาส่งเสริมอุตสาหกรรมเกี่ยวกับยา
หมวด 10 การขึ้นทะเบียนตำรับยา
แจ้งรายละเอียด เกี่ยวกับ ชื่อยา ชื่อและปริมาณของวัตถุ ขนาดบรรจุ ฉลาก เอกสารกำกับยา
หมวด 11 การโฆษณา
ต้องไม่เป็นการโอ้อวด ไม่แสดงสรรพคุณยาอันเป็นเท็จหรือเกินความจริง
หมวด 12 พนักงานเจ้าหน้าที่
หมวด 13 การพักใช้ใบอนุญาตและการเพิกถอนใบอนุญาต
หมวด 14 บทกำหนดโทษ
พระราชบัญญัติ วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
หมวด 1 คณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
ให้ความเห็นชอบต่อผู้อนุญาตในการขึ้นทะเบียน
หมวด 2 การขออนุญาตและการออกใบอนุญาต
ห้ามให้ใครนำเข้าหรือส่งออกเว้นแต่ได้รับใบอนุญาต
หมวด 3 หน้าที่ของผู้รับอนุญาต
จัดให้มีการวิเคราห์วัตถุออกฤทธิ์ที่ผลิตขึ้นก่อนนำออกจากสถานที่ผลิต
จัดให้มีฉลากสำหรับวัตถุออกฤทธิ์ที่ผลิต
จัดให้มีการทำบัญชีเกี่ยวกับการผลิตวัตถุออกฤทธิ์ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
หมวด 4 หน้าที่ของเภสัชกร
ควบคุมการผลิตวัตถุออกฤทธิ์ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ
ควบคุมให้มีฉลากและเอกสารกำกับวัตถุออกฤทธิ์
ควบคุมให้มีการแยกเก็บวัตถุออกฤทธิ์เป็นส่วนสัดจากยา
หมวด 5 วัตถุออกฤทธิ์ที่ห้ามผลิต ขาย นำเข้าหรือส่งออก
หมวด 6 การขึ้นทะเบียนวัตถุตำรับ
ต้องแจ้งรายละเอียด ชื่อวัตถุตำรับ ปริมาณของวัตถุต่างๆ ขนาดบรรจุ ฉลาก เอกสารกำกับวัตถุออกฤทธิ์
หมวด 7 การโฆษณา
หมวด 8 พนักงานเจ้าหน้าที่
เข้าไปในสถานที่ทำการของผู้รับอนุญาตนำเข้าหรือส่งออกในเวลาทำการของสถานที่นั้น
ค้นบุคคลหรือยานพาหนะที่มีเหตุสงสัยว่ามีวัตถุออกฤทธิ์ซุกซ่อนอยู่ดดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
หมวด 9 การพักใช้ใบอนุญาตและการเพิกถอนใบอนุญาต
หมวด 10 มาตรการควบคุมพิเศษ
หมวด 11 การค้าระหว่างประเทศ
ต้องได้รับใบอนุญาตให้มีการนำเข้าหรือส่งออกยา
หมวด 12 บทกำหนดโทษ
ขายวัตถุออกฤทธิ์ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สี่ปีถึงยี่สิบปี่ และปรับตั้งแต่สี่แสนบาทถึงสองล้านบาท
พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง
หมวด 1 คณะกรรมการเครื่องสำอาง
ให้คำแนะนำหรือความเห็นแก่รัฐมนตรีในเรื่องที่เกี่ยวกับนโยบาย
ให้ความเห็นชอบเกี่ยวกับการเพิกถอนใบรับจดแจ้ง
หมวด 2 การจดแจ้งและรับจดแจ้งเครื่องสำอาง
หมวด 3 ฉลากเครื่องสำอาง
ใช้ข้อความที่ตรงต่อความจริง ภาษาไทยและมีขนาดที่สามารถอ่านได้ชัดเจน
หมวด 4 การควบคุมเครื่องสำอาง
ต้องผลิตหรือนำเข้าเครื่องสำอางให้ตรงตามที่ได้จดแจ้งไว้
หมวด 5 การเพิกถอนใบรับจดแจ้งเครื่องสำอาง
หมวด 6 การโฆษณา
ห้ามแสดงข้อความที่เป็นเท็จหรือเกินความจริง
ข้อความที่จะก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับเครื่องสำอาง
ข้อความที่แสดงสรรพคุณที่เป็นการรักษาดรคหรือที่มิใช่จุดมุ่งหมายเป็นเครื่องสำอาง
หมวด 7 พนักงานเจ้าหน้าที่
เข้าไปในสถานที่ผลิต สถานที่นำเข้า สถานที่เก็บในเวลาทำการของสถานที่นั้นๆ
กรณีมีเหตุสงสัยว่ามีการกระทำผิด อาจเข้าไปในสถานที่เพื่อตรวจ ค้น ยึด อายัดเครื่องสำอาง
หมวด 8 การอุธรณ์
หมวด 9 บทกำหนดโทษ
ผู้ใดผลิตเพื่อขาย นำเข้าเพื่อขาย หรือรับจ้างผลิตเครื่องสำอางอันเป็นการฝ่าฝืนต้องระวางจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสองแสนบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค
หมวด 1 คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
พิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์จากผู้บริโภคที่ได้รับความเดือดร้อน
ดำเนินการเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการที่อาจเป้นอันตรายแก่ผู้บริโภค
หมวด 2 การคุ้มครองผู้บริโภค
ด้านโฆษณา
ข้อความที่เป็นเท็จหรือเกินจริง
ข้อความที่จะก่อให้เกิดความเข้าใจผิด
ข้อความที่มีการสนับสนุนว่ามีการกระทำผิดกฏหมาย
ข้อความที่ทำให้เกิดความแตกแยก
ด้านฉลาก
ต้องระบุชื่อเครื่องหมายการค้า สถานที่ผลิต
ด้านสัญญา
หมวด 3 อุธรณ์
การอุธรณืย่อมไม่เป็นการทุเลาการบังคับตามคำสั่งของคณะกรรมการเฉาพเรื่อง เว้นแต่คณะกรรมการจะสั่งเป็นอย่างอื่นเป็นการชั่วคราว
หมวด 4 บทกำหนดโทษ
ผู้ใดขัดขวางหรือฝ่าฝืนต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต
หมวด 1 คณะกรรมการ
กำหนดนโยบาย และมาตรการในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิต
ตรวจสอบและติดตามการดำเนินงานของคณะกรรมการ
พิจารณา ทำความเห้นเกี่ยวกับการบำบัดรักษาและผลการบำบัดรักษา
หมวด 2 สิทธิผู้ป่วย
ได้รับการบำบัดรักาาตามมาตรฐานทางการแพทย์
ได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยและการบำบัดรักษา
ได้รับการคุ้มครองในระบบประกันสุขภาพและประกันสังคม
หมวด 3 การบำบัดรักษาทางสุขภาพจิต
ผู้ป่วย
ผู้ป่วยคดี
การฟื้นฟูสมรรถภาพ
หมวด 4 การอุธรณ์
หมวด 5 พนักงานเจ้าหน้าที่
หมวด 6 บทกำหนดโทษ
ระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ