Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการการเมืองการปกครองของไทย - Coggle Diagram
วิวัฒนาการการเมืองการปกครองของไทย
สมัยสุโขทัย
ปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราร
ปกครองแบบ ปิตุราชา(พ่อปกครองลูก)
กษัตริษ์ทรงเป็นดั่งธรรมราชา
ธรรมะที่สำคัญของกษัตร์
ทศพิธราชธรรม
จักวรรคิวัตร
กลุ่มคน
พ่อขุนกับพระราชวงศ์
พระ
ขุนนางที่เรียกว่า ลูกขุน
ไพร่หรือเสรีชนทั่วไป
แบ่งเขตการปกครอง
ราชธานี
เมืองสุโขทัย เป็นศูนย์กลางการปกครอง
เมืองอุปราช
เมืองศรีสัชนาลัย
เมืองสองแคว
เมืองสระหลวง
เมืองกำแพงเพชร
เมืองพระยามหานคร
เมืองแพร่
เมืองแพรก
เมืองศรีเทพ
เมืองประเทศราช
เมืองนครศรีธรรมราช
เมืองทะวาย
เมืองเวียงจันทร์
ศิลปะที่สำคัญ
สถาปัตยกรรมทางศาสนา
สมัยอยุธยา
กษัตริย์
คือ สมมุติเทพ
เป็นแบบนายปกครองบ่าว
เป็นเทวราชามีฐานะพิเศษเหนือมนุษย์
สามารถที่จะกำหนดชะตาชีวิตของผู่อยู่ใต้การปกครอง
การปกครองส่วนกลาง
จตุสดมภ์
เวียง
วัง
คลัง
นา
ระดับศักดินา
มีความยิ่งใหญ่
มีอิทธิพลต่อการเมืองการปกครอง
ชนชั้น
กษัตริษ์ พระราชวงศ์และขุนนางระดับสูง
ผู้ดี ผู้มีฐานะและขุนนาง
ไพร่
สมัยธนบุรี
การปกครองของกรุงธนบุรี
รูปแบบเหมือนกับ
สมัยอยุธยาตอนปลาย
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีอาญาสิทธิ์
เด็ดขาดในการรักษาบ้านเมือง
มีอัครมหาเสนาบดี 2 ตำแหน่ง
สมุหนายก เป็นอัครมหาเสนาบดีฝ่ายพลเรือน
สมุหพระกลาโหม เป็นอัครมหาเสนาบดีฝ่ายทหาร
การบริหารราชการได้แบ่งออกเป็น 4 กรม ที่เรียกว่า จตุสดมภ์
กรมเมือง (นครบาล)
มีพระยายมราชเป็นผู้บังคับบัญชา
ทำหน้าที่เกี่ยวกับการปกครองภายในเขตราชธานี
กรมวัง (ธรรมาธิกรณ์)
มีพระยาธรรมาเป็นผู้บังคับบัญชา
ทำหน้าที่เกี่ยวกับกิจการภายในราชส านักและพิพากษาอรรถคด
กรมพระคลัง (โกษาธิบดี)
มีพระยาโกษาธิบดีเป็นผู้บังคับบัญชา
ทำหน้าที่เกี่ยวกับการรับจ่ายเงินของแผ่นดินและติดต่อ
กรมนา (เกษตราธิการ)
มีพระยาพลเทพเป็นผู้บังคับบัญชา
ทำหน้าที่เกี่ยวกับเรือกสวนไร่นาและเสบียงอาหารตลอดจน
ดูแลที่นาหลวง เก็บภาษีค่านา เก็บข้าวขึ้นฉางหลวงและพิจารณา
คดีความเกี่ยวกับเรื่องโคกระบือและที่นา
การปกครองส่วนภูมิภาค
หัวเมืองชั้นใน จะมีผู้รั้งเมือง เป็นผู้ปกครอง จะอยู่รอบ ๆ
ไม่ไกลจากราชธาน
เมืองพระยามหานคร จะแบ่งออกได้เป็น เมืองเอก โท ตรี จัตวา
มีเจ้าเมืองเป็นผู้ปกครอง
เมืองประเทศราช คือเมืองที่จะต้องส่งเครื่องราชบรรณาการ
มาให้กรุงธนบุรี
สมัยรัตนโกสินทร์
ร.5เลิกทาส
ร.6ปรับปรุงการศึกษา
ร.7เปลี่นแปลงการปกครองเป็นประชาธิปไตย
การเมืองการปกครองหลัง2475-2500
ยึดอำนาจการปกครอง2476
กบฏบวรเดช
ร.7ทรงประกาศสละราชสมบัติ
การขึ้นเป็นนายกครั้งที่2ของจอมพล ป.พิบูลสงคราม
การเมืองการปกครอง2501-2521
จอมพลสฤษดิ์ก่อรัฐประหาร
2519เป็นยุคแห่งเสรีภาพ
การเมืองการปกครอง2521-2557
ยุครัฐบาลซานตาครอส
ยุคประชาธิปไตยครึ่งใบ
ร.ส.ช. รัฐประหาร และเกิดเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ
การรัฐประหาร2549
สถาบันการเมืองการปกครองของไทย
กษัตริย์
รัฐธรรมนูญ
สถาบันนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ
พรรคการเมือง
กลุ่มผลประโยชน์
เกิดรัฐประหาร13ครั้ง
เกิดการกบฏ6ครั้ง
พระยาพหลพลพยุหเสนา ยึดอำนาจ 1ครั้ง