Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 1 ธรรมชาติของภาษา, 14582, unnamed (6), upl_1540215679_363915,…
หน่วยที่ 1
ธรรมชาติของภาษา
ความสัมพันธ์ระหว่าง
วัจนภาษาและอวัจนภาษา
ใช้อวัจนภาษาแทนคำพูด
ใช้อวัจนภาษาขยายความ
ใช้อวัจนภาษาย้ำความให้หนักแน่น
ใช้อวัจนภาษาเน้นความ
ใช้อวัจนภาษาขัดแย้งกัน
ใช้อวัจนภาษาควบคุมปฏิสัมพันธ์
ระหว่างการสื่อสาร
คุณสมบัติและหน้าที่
ของภาษาในสังคมไทย
เกณฑ์ในการจำแนก
ประเภทภาษา
ความมีชีวิต
ความเป็นมาตรฐาน
ความเป็นเอกเทศ
ความมีประวัติอันยาวนาน
การจำแนกภาษา
ตามหน้าที่
ภาษาการศึกษา
ภาษาสอนเป็นวิชา
ภาษาเฉพาะกลุ่ม
ภาษาศาสนา
ภาษากลางในประเทศไทย
ภาษาวรรณกรรม
ภาษานานาชาติ
ภาษาภูมิภาค
ภาษาเมืองหลวง
ภาษาราชการ
พลวัตรของภาษาในกระแส
ปัจจุบันบนพื้นที่ปฏิบัติการโรงเรียน
การใช้ภาษาไทยใน
การสื่อสารปัจจุบัน
มีคำบัญญัติเพื่อมีใช้ให้เพียงพอกับความเป็นจริง
ของชีวิตและวัฒนธรรมด้านการศึกษาต่างๆ
คำที่เกิดใหม่ในภาษาที่มากที่สุดใน
ภาษาไทย เป็นภาษาต่างชาติ
การใช้คำซึ่งมีความหมายเดิมอย่างหนึ่ง
ให้มีความหมายใหม่อีกอย่างหนึ่ง
ภาษาเฉพาะกลุ่ม เช่น ภาษาของวัยรุ่น
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของภาษา
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
กลไกที่ทำให้ภาษาเปลี่ยนแปลง
ภาษามีการเปลี่ยนแปลงลักษณะ
การเปลี่ยนแปลงภาษา
ปัญหาการใช้ภาษาไทย
ในการสื่อสารปัจจุบัน
เกิดจากความไม่ระมัดระวังในการใช้ภาษา
ไม่พิถีพิถันในการใช้ภาษา
เคร่งครัดในการใช้ภาษามากเกินไป
ภาษาไทยยุคใหม่กับโลกสมัยที่เปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงในภาษาไทยสมัยใหม่
สาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ในภาษาไทยสมัยใหม่
ตัวอย่างภาษาที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมภาษาวิบัติ หรือ ภาษาอุบัติ
การเปลี่ยนแปลงภาษาไทย
ในยุค 4.0
เปลี่ยนจากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์”
ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม”
เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรม
ไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม
เปลี่ยนจากการเน้นภาคการผลิตสินค้า ไปสู่การเน้นภาคบริการมากขึ้น
ภาษาไทย 4.0
“ภาษาไทย 2.0” คือยุคที่มีการอธิบายภาษาไทย
โดยอาศัยโครงสร้างของภาษาอังกฤษตามแบบ
“ภาษาไทย 3.0” คือยุคที่สอน
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
“ภาษาไทย 1.0” คือยุคที่มุ่งเน้นที่การอ่าน
การเขียน และการแต่งคำประพันธ์
“ภาษาไทย 4.0” ที่คอลัมน์ “มองไทยใหม่”
มโนทัศน์เกี่ยวกับภาษา
ภาษาย่อย
วิธภาษา
ภาษาถิ่น
ภาษามาตรฐาน
ความหมายของภาษา
ภาษาว่าเป็นระบบสัญลักษณ์ในเชิงคำพูดหรือเชิงการเขียนที่มนุษย์เท่านั้น
กำหนดขึ้น และใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อความหมายต่อกันและกัน
ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อ
ความหมายของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
ภาษาคือเสียงพูดที่มีระเบียบและความหมาย ซึ่งมนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือสำหรับการสื่อสาร
ภาษาที่แสดงออกด้วยเสียงพูดและคำพูดเท่านั้น
ที่นับว่าเป็นภาษาที่แท้จริง
วิธีที่มนุษย์แสดงความในใจ เพื่อให้ผู้ที่ตนต้องการให้รู้ได้รู้
ประเภทของภาษา
วัจนภาษา
ภาษาถ้อยคำ
เสียง
ลายลักษณ์อักษร
คำพูดหรือตัวอักษร
อวัจนภาษา
ภาษาที่ไม่ใช่
ถ้อยคำ
กิริยาท่าทาง
ลักษณะธรรมชาติ
ของภาษา
ภาษาเป็นสิ่งสมมติ
ภาษาหมายถึงภาษาของมนุษย์
ภาษาหมายถึงภาษาพูด
ภาษามีโครงสร้างหรือองค์ประกอบ
ภาษามีระบบกฎเกณฑ์แน่นอนในตัวเอง
ภาษามีจำนวนประโยคไม่รู้จบ ภาษามีเสียงจำกัด
ภาษาเป็นพฤติกรรมของสังคม
ภาษาเป็นเครื่องแสดงความเจริญของสังคม
ภาษาเป็นสิ่งที่ได้ทางวิทยาศาสตร์