Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บริทางวัฒนธรรม, นางสาวพีรยา ดีเเจ่ม 60202112 sec.17 - Coggle Diagram
บริทางวัฒนธรรม
บริบททางวัฒนธรรมและค่านิยมที่มีผลกระทบ
ต่อการกำหนดนโยบาย และแผนการศึกษา
สถาบันทางสังคม
ระเบียบ ประเพณีและพฤติกรรมของคนในสังคม
ชาติพันธุ์ ภาษา และศาสนาของคนในสังคมและท้องถิ่น
ค่านิยมร่วมของสังคม และค่านิยมของท้องถิ่น
ศิลปะ วัฒนธรรมและมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนและประเทศ
การปรับตัวของชุมชนสังคม
การแพร่กระจายของวัฒนธรรมและค่านิยมจากสังคมต่างประเทศในยุคโลกาภิวัตน์หรือยุคการสื่อสารไร้พรมแดน
การรวมของประเทศในแต่ละภูมิภาคของโลกและในสังคมโลก
ศาสนา
บริบททางวัฒนธรรม
คือ
บอกถึงความเป็นชาติของกลุ่มชนนั้น
เป็นสิ่งที่พึงรักษาไว้ให้คนรุ่นต่อไป
เป็นสิ่งที่ตกทอดมาจากบรรพบุรุษ
ภาษาที่คนในชาติใช้ร่วมกัน
ชุดประจำชาติและประเพณีต่าง ๆ
ลักษณะของวัฒนธรรม
เป็นมรดกของสังคม บ่งบอกถึงความยิ่งใหญ่
เป็นวิถีชีวิตหรือแบบแผนการดำเนินชีวิต
เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
เป็นสิ่งที่มีการเปลี่ยนอยู่เสมอในบริบทสังคมมนุษย์
เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ เกิดเองไม่ได้
ประเภทของวัฒนธรรม
ไม่ใช่วัตถุ
ค่านิยม, ความเชื่อ
วัตถุ
สื่งที่มองเห็นได้, สัมผัสจับต้องได้
แบ่งตามลักษณะความ
สัมพันธ์ต่อการดำเนินชีวิต
วัตถุธรรม
สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
เนติธรรม
ระเบียบ แบบแผน ข้อปฏิบัติ กฎหมาย
สหธรรม
มารยาททางสังคม
คติธรรม
คำสอน แนวทางการดำเนินชีวิต
แบ่งตามผลิตภัณฑ์ทาง
ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์
วัฒนธรรมสุนทรียะ
วัฒนธรรมแบบบริรักษ์
วัฒนธรรมอุปนัย
กระบวนการเรียนรู้วัฒนธรรมแม่
รูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง
โดยการสังเกตและเลียนแบบ
เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่าน
การสื่อสารแบบที่ไม่ใช้ถ้อยคำ
รูปแบบการเรียนรู้โดย
มีการสอนแบบเป็นระบบ
มักเกิดที่โรงเรียนโดยมีครูเป็นผู้สอน
สอนเป็นขั้นตอน มักมีการอธิบายเหตุผลประกอบ
รูปแบบที่มีการเรียนรู้โดย
มีการสอนแบบไม่เป็นระบบ
เป็นการเรียนรู้โดยการสื่อสาร
ด้วยคำพูดเป็นส่วนใหญ่
ลักษณะของกระบวน
การเรียนรู้วัฒนธรรมแม่
เป็นกระบวนการเรียนที่ซ้ำไปซ้ำมา ด้วยวิธีการต่าง ๆ
การสร้างความตระหนักทางวัฒนธรรมกับกระบวนการ
เรียนรู้วัฒนธรรมแม่ ชาตินิยมและความลุ่มหลงในชาติพันธุ์
แนวคิดแบบเอาใจ
เขามาใส่ใจเรา
เป็นแนวคิดที่สร้างความตระหนักทางวัฒนธรรม
ทำอย่างไรให้คนสามารถเอาใจเขามาใส่ใจเราได้
ชาตินิยมและความ
ลุ่มหลงในชาติพันธุ์
เพื่อต้องการรวบรวมพลังจากคนในชาติแม้แตกต่าง
เผ่าพันธุ์ให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน รวมถึงความรัก
ในความเป็นชาติและความชื่นชมในสิ่งต่าง ๆ
ที่เป็นของชาตินั้น
การยึดมั่นถือมั่น
อยู่กับวิถีการดำเนินชีวิตตลอดจนแนวคิดของ
ตนเองหรือชนชาติของตนเองว่าถูกต้องเสมอ
ทฤษฎีชุมชนในจินตนาการ
เบเนดิก แอนเดอร์สัน
มองชาติว่าถูกสร้างขึ้นมา เมื่อมีองค์ประกอบในการเป็นชาติครบถ้วน
ชาติจึงเป็นผลผลิตทางวัฒนธรรม ไม่ได้เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ
กระบวนการเรียนรู้และการปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมใหม่
culture shock
คือ
เกิดจากความวิตกกังวลเนื่องจากสูญเสียสัญญาณหรือสัญลักษณ์
ที่คุ้นเคยในสื่อสารหรือร่วมทำกิจกรรมต่าง ๆ ทางสังคม
ระยะการปรับตัว
Gaining Ground/
Near Recovery Stage
เมื่อเวลาผ่านพ้นไป บุคคลจะค่อย ๆ สามารถ
ปรับตัวเข้ากับขนบธรรมเนียมของประเทศเจ้าบ้าน
Depression/
Avoidance Stage
เมื่อระยะแรกสิ้นสุดลง บุคคลจะเริ่มตระหนักว่ามี
ความแตกต่างมากมายที่เขารู้สึกด้อยในสิ่งแวดล้อมใหม่
Adjustment/
Full Recovery Stage
เมื่อผ่านพ้นระยะที่เริ่มยอมรับสิ่งต่าง ๆ ได้แล้ว บุคคลจะเข้าสู่
ระยะขั้นตอนการปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมใหม่ได้อย่างสมบูรณ์
Excitement/
Honeymoon Stage
เป็นระยะแรกที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลเริ่มเข้าสู่วัฒนธรรมใหม่
การนิยามคำว่า วัฒนธรรม ภาษา และ
บุคลิกลักษณะ โดยเอ็ดเวิร์ดซาเฟียร์
นิยาม
ภาษา
ภาษามีความหมายตามบริบททางวัฒนธรรมของตัวเอง คำในภาษาใด ๆ ย่อมมีความหมายตามบริบททางวัฒนธรรมในสังคมนั้น ๆ
บุคลิกลักษณะ
บุคลิกลักษณะเป็นผลผลิตจากการเลี้ยงดูของครอบครัว บวกกับการปฏิสัมพันธ์ของวัฒนธรรมนั้น ๆ ดังนั้นเป็นไปไม่ได้ที่จะแยกทั้งสองอย่างออกจากกันได้
วัฒนธรรม
เป็นรูปแบบพฤติกรรมและค่านิยมที่สืบทอดต่อ ๆ กันมาของกลุ่มชนหนึ่ง แสดงโลกแห่งความเป็นจริงให้ได้เห็น
นางสาวพีรยา ดีเเจ่ม 60202112 sec.17