Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5.1 พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 - Coggle Diagram
บทที่ 5.1 พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550
หมวด ๑ สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
มาตรา ๕ บุคคลมีสิทธิในการดํารงชีวิตในสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
มาตรา ๖ สุขภาพของหญิงในด้านสุขภาพทางเพศและสุขภาพของระบบเจริญพันธุ์ซึ่งมีความจําเพาะซับซ้อนและมีอิทธิพลต่อสุขภาพหญิงตลอดช่วงชีวิตต้องได้รับการสร้างเสริมและคุ้มครองอย่างสอดคล้องและเหมาะสม
มาตรา ๗ ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลเป็นความลับส่วนบุคคลผู้ใดจะนําไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทําให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้เว้นแต่การเปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ของบุคคลนั้นโดยตรงหรือมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผยแต่ไม่ว่าในกรณีใดๆผู้ใดจะอาศัยอํานาจหรือสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อขอเอกสารเกี่ยวกับข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไม่ใช่ของตนไม่ได
มาตรา ๘ ในการบริการสาธารณสุขบุคลากรด้านสาธารณสุขต้องแจ้งข้อมูลด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการให้ผู้รับบริการทราบอย่างเพียงพอที่ผู้รับบริการจะใช้ประกอบการตัดสินใจในการรับหรือไม่รับบริการใดและในกรณีที่ผู้รับบริการปฏิเสธไม่รับบริการใดจะให้บริการนั้นมิได
มาตรา ๑๐ เมื่อมีกรณีที่จะมีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนเกิดขึ้นหน่วยงานของรัฐที่มีข้อมูลเกี่ยวกับกรณีดังกล่าวต้องเปิดเผยข้อมูลนั้นและวิธีป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพให้ประชาชนทราบและจัดหาข้อมูลให้โดยเร็ว
มาตรา ๑๑ บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิร้องขอให้มีการประเมินและมีสิทธิร่วมในกระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจากนโยบายสาธารณะ
มาตรา ๑๒ บุคคลมีสิทธิทําหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตนหรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วยได
หมวด ๒ คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๑๓ ให้มีคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติเรียกโดยย่อว่า “คสช.” ประกอบด้วย
(๕) ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเป็นกรรมการ
(๖) ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งเลือกกันเองจํานวนสี่คนเป็นกรรมการ
(๔) ประธานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็นกรรมการ
(๗) ผู้แทนองค์กรวิชาชีพด้านสาธารณสุขที่มีกฎหมายจัดตั้งองค์กรละหนึ่งคนเป็นกรรมการ
(๓) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงที่นายกรัฐมนตรีกําหนดจํานวนไม่เกินห้าคนเป็นกรรมการ
(๘) ผู้แทนคณะกรรมการวิชาชีพที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะซึ่งเลือกกันเองจํานวนหนึ่งคนเป็นกรรมกา
(๒) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเป็นรองประธานกรรมการ
(๙) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่างๆซึ่งต้องไม่เป็นผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขโดยเลือกกันเองจํานวนหกคนเป็นกรรมการ
(๑) นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธานกรรมการ
(๑๐) ผู้แทนองค์กรภาคเอกชนที่ไม่แสวงหากําไรไม่ว่าจะจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลหรือไม่ซึ่งเลือกกันเองจํานวนสิบสามคนเป็นกรรมการ
มาตรา๑๔ กรรมการตามมาตรา๑๓ (๖) (๗) (๘) (๙) และ (๑๐) ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้
(๔) ไม่ติดยาเสพติดให้โทษ
(๕) ไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยถึงไล่ออกปลดออกหรือให้ออกจากหน่วยงานของรัฐ
(๓) ไม่เป็นผู้มีความผิดปกติทางจิตอันเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติหน้าที่
(๖) ไม่เคยได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุกเว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิดที่ได้กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๒) มีอายุไม่ต่ํากว่ายี่สิบปีบริบูรณ์
(๑) มีสัญชาติไทย
มาตรา๑๕การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓
มาตรา ๑๖ การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓ ให้เป็นไปตามวิธีการที่คณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะกําหนด
มาตรา ๑๗ การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการสรรหาประกาศกําหนด
มาตรา๑๘การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๓ ให้คณะกรรมการสรรหาดําเนินการ
มาตรา ๑๙ ให้มีคณะกรรมการสรรหาคณะหนึ่งซึ่งคสช. แต่งตั้ง
มาตรา ๒๐ ให้คณะกรรมการสรรหามีหน้าที่และอํานาจ
มาตรา ๒๑กรรมการตามมาตรา๑๓ (๖) (๗) (๘) (๙) และ (๑๐) มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสี่ปีโดยกรรมการตามมาตรา๑๓ (๗) (๘) (๙) และ (๑๐) จะดํารงตําแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันมิได้
มาตรา๒๒นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระกรรมการตามมาตรา๑๓ (๖) พ้นจากตําแหน่งเมื่อพ้นจากตําแหน่งตามที่ระบุไว้ในมาตรา๑๕ (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) แล้วแต่กรณี
มาตรา๒๓นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระกรรมการตามมาตรา๑๓ (๖) (๗) (๘) (๙) และ (๑๐) พ้นจากตําแหน่ง
มาตรา๒๔หลักเกณฑ์และวิธีการการประชุมคสช. และการปฏิบัติงานของคสช. ให้เป็นไปตามระเบียบที่คสช. กําหนด
มาตรา ๒๕ ให้คสช. มีหน้าที่และอํานาจ
หมวด ๓ สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๒๖ ให้จัดตั้งสํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติขึ้นเป็นหน่วยงานของรัฐที่ไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินและไม่เป็นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณหรือกฎหมายอื่น
มาตรา ๒๗ ให้สํานักงานมีหน้าที่และอํานาจ
มาตรา ๒๘ รายได้ของสํานักงาน
มาตรา ๒๙ บรรดารายได้ของสํานักงานตามมาตรา๒๘ไม่เป็นรายได้ที่ต้องนําส่งกระทรวงการคลังตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลังและกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ
มาตรา ๓๐ การเก็บรักษาและการใช้จ่ายเงินของสํานักงานให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการบริหารกําหนด
มาตรา๓๑ให้มีเลขาธิการคนหนึ่งเป็นผู้รับผิดชอบการบริหารงานของสํานักงานขึ้นตรงต่อคสช. มีหน้าที่ควบคุมดูแลโดยทั่วไปซึ่งงานของสํานักงานและเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานและ
มาตรา๓๒ให้เลขาธิการมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสี่ปีและอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่จะดํารงตําแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันมิได้
มาตรา ๓๓ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระแล้วเลขาธิการพ้นจากตําแหน่งเมื่อ
(๒) ลาออก
(๓) ถูกจําคุก
(๑) ตาย
(๔) ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ผ่านการประเมินทั้งนี้ตามระเบียบที่คณะกรรมการบริหารกําหนดโดยความเห็นชอบของคสช.
มาตรา ๓๔ เลขาธิการมีหน้าที่และอํานาจ
มาตรา ๓๕ เงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่นของเลขาธิการให้คณะกรรมการบริหารกําหนดตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกําหนด
มาตรา ๓๖ ให้เลขาธิการเป็นผู้แทนของสํานักงานในกิจการของสํานักงานที่เกี่ยวข้องกับบุคคลภายนอกแต่เลขาธิการจะมอบหมายให้บุคคลใดปฏิบัติงานในเรื่องใดแทนตามระเบียบที่คณะกรรมการบริหารกําหนดก็ได้
มาตรา ๓๗ ให้คสช. แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร
มาตรา ๓๘ การดํารงตําแหน่งการพ้นจากตําแหน่งการประชุมและการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริหารให้เป็นไปตามระเบียบที่คสช. กําหนด
หมวด ๕ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา๔๖ให้คสช. จัดทําธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติเพื่อใช้เป็นกรอบและแนวทางในการกําหนดนโยบายยุทธศาสตร์และการดําเนินงานด้านสุขภาพของประเทศเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ
มาตรา๔๗ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติต้องสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและอย่างน้อยต้องมีสาระสําคัญ
มาตรา๔๘ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติและนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพตามมาตรา๒๕ (๒) ที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้วให้ผูกพันหน่วยงานของรัฐและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องที่จะต้องดําเนินการต่อไปตามอํานาจหน้าที่ของตน
หมวด ๖ บทกําหนดโทษ
มาตรา๔๙ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา๗หรือมาตรา๙ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา๕๐ให้โอนบรรดากิจการทรัพย์สินสิทธิหนี้สินและเงินงบประมาณของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขในส่วนของสํานักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติไปเป็นของสํานักงานตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา๕๑ให้นําบรรดาข้อบังคับระเบียบประกาศหรือคําสั่งที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของสํานักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติมาใช้บังคับกับการปฏิบัติงานของสํานักงานโดยอนุโลมจนกว่าจะได้มีข้อบังคับระเบียบประกาศหรือคําสั่งที่ออกตามพระราชบัญญัติ
มาตรา๕๒ให้ถือว่าข้าราชการที่โอนมาตามมาตรา๕๐ออกจากราชการเพราะทางราชการเลิกหรือยุบตําแหน่งตามกฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบํานาญข้าราชการหรือกฎหมายว่าด้วยกองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการแล้วแต่กรณี
มาตรา๕๓ให้นําความในมาตรา๕๒มาใช้บังคับกับการออกจากราชการหรือออกจากงานของข้าราชการหรือลูกจ้างของส่วนราชการที่สํานักงานรับเข้าทํางานด้วยโดยอนุโลมแต่ข้าราชการหรือลูกจ้างนั้นต้องแสดงความจํานงเป็นหนังสือสมัครเข้าทํางานต่อสํานักงานภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา๕๔ให้ผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้อํานวยการสํานักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาปฏิบัติหน้าที่เลขาธิการไปจนกว่าจะมีการแต่งตั้งเลขาธิการตามพระราชบัญญัติ
มาตรา๕๕ในวาระเริ่มแรกให้นายกรัฐมนตรีเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาตามมาตรา๑๙ให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
หมวด ๔ สมัชชาสุขภาพ
มาตรา๔๑ให้คสช. จัดให้มีสมัชชาสุขภาพแห่งชาติอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
มาตรา๔๓ให้คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติมีหน้าที่ในการจัดการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติกําหนดวันเวลาและสถานที่ในการประชุมซึ่งต้องประกาศให้ประชาชนทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามสิบวันก่อนวันประชุม
มาตรา๔๐การจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่หรือสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็นหรือสนับสนุนให้ประชาชนรวมตัวกันเพื่อจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่หรือสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็นให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คสช. กําหนด
มาตรา๔๔ผู้ใดประสงค์จะเข้าร่วมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติในการประชุมครั้งใดให้สมัครลงทะเบียนสําหรับการประชุมครั้งนั้นต่อเจ้าหน้าที่ที่คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติกําหนดตามแบบและหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติกําหนด
มาตรา๔๕ในกรณีที่สมัชชาสุขภาพแห่งชาติมีข้อเสนอให้หน่วยงานของรัฐนําไปปฏิบัติหรือนําไปพิจารณาประกอบในการกําหนดนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพให้เสนอต่อคสช.เพื่อพิจารณาดําเนินการให้บรรลุผลตามควรแก่กรณีต่อไป