Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของรก นำคร่ำ และความผิดปกติของทารก…
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของรก
นำคร่ำ และความผิดปกติของทารกในครรภ์
ภาวะนำ้คร่ำผิดปกติ
น้ำคร่ำมากกว่าปกติ (polyhydramnios)
ความหมาย
ปริมาณน้ำคร่ำมากกว่า2000มล.
พยาธิสรีรภาพ
ปริมาณน้ำคร่ำสัมพันธ์กับปริมาณของเหลว
ที่เข้าออกจากถุงน้ำคร่ำ
สาเหตุ
ด้านมารดา
มารดาเป็นโรคเบาหวาน
ระหว่างตั้งครรภ์
ตั้งครรภ์แฝด
ด้านทารก
สัมพันธ์กับการกลืน
ความผิดปกติของระบบประสาท
ภาวะอุดตันของระบบทางเดินอาหาร
ทารกหัวบาตร
ครรภ์แฝดที่เป็น twin-twin transfusion syndrome (TTTS)
ทารกบวมน้ำ
การจำแนกชนิด
ภาวะน้ำคร่ำมากอย่างเฉียบพลัน
พบตั้งแต่อายุครรภ์ 20-24 สัปดาห์
ไม่สุขสบาย ปวดหลังและหน้าขา แน่นอึดอัดในช่องท้อง หายใจลำบาก คลื่นไส้ อาเจยน
ต่อมามีอาการบวมที่ผนังหน้าท้อง อวัยวะเพศ
หน้าขอ คลำหาส่วนต่างๆของทารกได้ชัดเจน
ภาวะน้ำคร่ำมากเรื้อรัง
น้ำคร่ำค่อยๆเพิ่ม หายใจลำบาก อึดอัด
อายุครรภ์ 30 สัปดาห์ขึ้นไป
ผลต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
อึดอัด หายใจลำบาก ท้องอืด
เนื่องจากมีการขยายตัวของมดลูกมากเกินไป
คลอดก่อนกำหนด
ช็อคจากความดันในช่องท้องลดลงอย่างรวดเร็ว
ตกเลือด ติดเชื้อหลังคลอด
ผลต่อทารก
เกิดภาวะพิการ คลอดก่อนกำหนด
เกิดภาวะ fetal distress จากสายสะดือย้อย
ทารกอยู่ในมาผิดปกติ
อาการอาการแสดง
แน่นอึดอัด หายใจลำบาก เจ็บชายโครง
บวมบริเวณเท้า ขา ปากช่องคลอด
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
น้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ(oligohydramnios)
ความหมาย
การตั้งครรภ์ที่มีน้ำคร่ำน้อยว่า300มล.
พบร่วมกับความผิดปกติของทารก โครโมโซม
ภาวะเจริญเติบโตช้าในครรภ์ ภาวะเกินกำหนด
สาเหตุ
ทารกมีความผิดกติ ระบบไต ทางเดินป้ัสสาวะ
เช่น ไตตีบ การอุดตันทางออกปัสสาวะ
ความผิดปกติของโครโมโซม trisomy18
ถุงนำ้คร่ำแตกก่อนกำหนด
รกเสื่อมสภาพ ตั้งครรภ์เกินกำหนด ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ต่อทารก
Amniotic band syndrome
ทารกอยู่ในภาวะคับขัน
ภาวะปอดแฟบ
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
มีโอกาสคลอดก่อนกำหนด
ต่อมารดา
มีโอกาสผ่าตัดคลอดทารกทางหน้าท้องมากกว่าการตั้งครรภ์ปกติ
การวินิจฉัย
วัดดัชนีน้ำคร่ำ มีค่าน้อยกว่า5CM
วัดโพรงน้ำคร่ำที่ลึกที่สุดในแนวดิ่ง
การพยาบาล
ดูแลให้ได่รับการใส่สารนำ้เข้าไปในถุงน้ำคร่ำ
รัปฟังปัญหา
อธิบายถึงสาเหตุการเกิดโรค การรักษา
ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
(intra uterine growth retrition IUGR)
ความหมาย
นำ้หนักแรกคลอดของทารกน้อยกว่า
เปอร์เซนไทล์ที่10 ที่อายุครรภ์นั้นๆ
สาเหตุ
ด้านมารดา
ภาวะโลหิตจาง มีภาวะติดเชื้อ
โรคของมารดา ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไตเรื้อรัง
มารดารูปร่างเล็ก ภาวะขาดสารอาหาร
ปัจจัยสิ่งแวดล้อม ใช้สารเสพติด มารดาอยู่พื้นที่สูง
ตั้งครรภ์แฝด
ด้านทารก
ความผิดปกติของโครโมโซม trisomy21,13,18
ติดเชื้อในระยะตั้งครรภ์ Rubella
ความพิการแต่กำเนิด ไม่มีกะโหลกศีรษะ ผนังหน้าท้องไม่ปิด
การจำแนก IUGR
ทารกโตช้าในครรภ์แบบได้สัดส่วน
สตรีตั้งครรภ์มีภาวะทุพโภชนาการ
ความผิดปกติของโครโมโซม ติดเชื้อ
ได้รับยาหรือสารเสพติด
ทารกโตช้าในครรภ์แบบไม่ได้สัดส่วน
สตรีตั้งครรภ์มีประวัติเป็นโรคหัวใจหรือหลอดเลือด เม็ดเลือดแดง
มีประวัติเป็นโรคไต
ภาวะครรภ์แฝด ความผิดปกติของรกและสานสะดือ
การวินิจฉัย
ซักประวัติ โรคประจำตัวของมารดา
ตรวจร่างกาย ขนาดมดลูกน้อยกว่าอายุครรภ์3 cm
ตรวจด้วยคลื่นความถี่สูง
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำการนอนหลับพักผ่อนมากๆ นอนตะแคงซ้าย
ติดตามสุขภาพของทารกในครรภ์
แนะนำเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร หลีกเลี่ยงการใช้ยา
ระยะคลอด
ประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก เสียงหัวใจของทารก
หลึกเลี่ยงการใช้ยาแก้ปวด จะกดการหายใจของทารก
ระยะหลังคลอด
ป้องกันการเกิดภาวะ hypo
lycemia hypothermia polycythemia
การตั้งครรภ์ที่มีจำนวนทารกมากกว่า1คน
ความหมาย
การตั้งครรภ์ที่มีทารกในโพรงมดลูกมากกว่า1คนขึ้นไป
ชนิดและสาเหตุ
แฝดที่เกิดจากไข่ใบเดียวหรือแฝดแท้
เกิดจากการปฏิสนธิจากไข่1ใบ และอสุจิ1ตัว
รูปร่าง หน้าตา เพศ ลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกัน
สาเหตุเกิดจากธรรมชาติ ปัจจัยด้านอายุ เชื้อชาติ พันธุกรรม
แฝดที่เกิดจกไข่คนละใบ แฝดเทียม
สาเหตุเชื้อชาติ พันธุกรรม อายุมารดามากกว่า35ปี
ปัจจัยโภชนาการ มารดารูปร่างใหญ่
มีประวัติใช้ยากระตุ้นการตกไข่ จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์
เกิดจากไข่2 ใบ อสุจิ2ตัว amnion2อัน chorion2อัน รก2อัน
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ต่อมารดา
ระยะคลอด
กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัวผิดปกติ
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ระยะหลังคลอด
เลี้ยงลูกด้วยนมมารดา
ตกเลือดหลังคลอด ติดเชื้อหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์
มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน
โลหิตจาง ตกเลือดก่อนคลอด
ภาวะความดันโลหิตสูง เบาหวาน
ต่อทารก
IUGR
ทารกขาดออกซิเจน
คลอดก่อนกำหนด
TTTS
ทารกตายในครรภ์ การแท้ง
แนวทางการดูแลรักษา
ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ดูแลการเจริญเติบโตของทารกอย่างใกล้ชิด
ต้องวินิจฉัยให้เร็วที่สุด
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะอันตรายต่อทารกในระยะคลอด
ทารกพิการแต่กำเนิด(congenital anormality)
ความหมาย
ความพิการที่สังเกตได้จากลักษณะภายนอก
หรือความพิการที่อยู่ในอวัยวะใน
สาเหตุ
สิ่งแวดล้อมทำให้เกิดความผิดปกติ การใช้ยา ติดเชื้อ ปัจจัยจากมดลูก
ปัจจัยด้านพันธุกรรม ความผิดปกติของโครโมโซม ยีนเดี่ยว
ความผิดปกติแบ่งเป็น 4 กลุ่ม
disruption ผลมาจากปัจจัยภายนอกทาขัดขวางการเจริญเติบโต
deformation โครงสร้างของอวัยวะของร่างกายเดิมเคยปกติมาก่อน
malformation ทางรูปร่างของอวัยวะ ผลมาจากขบวนการพัฒนา ปากแหว่งเพดาโหว่
dysplasia ความผิ ดปกติของการจัดระเบียบของเซลล์
การป้องกัน
ให้คำแนะนำปรึกษาทางพันธุศาสตร์
ก่อนตั้งครรภ์ในรายที่มีภาวะเสี่ยง การซักประวัติ ตรวจร่างกาย ตรวจเลือด
เมื่อตั้งครรภ์ ตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด เจาะน้ำคร่ำ ตัดชิ้นเนื้อรก
ให้คำปรึกษาภายหลังการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด
หลีกเลี่ยงการสัมผัส teratogen
ปากแหว่งเพดานโหว่
ความหมาย
ความพิการของเพดานริมฝีปาก เหงือกส่วนหน้า เพดานแข็ง, อ่อน
สาเหตุ
กรรมพันธุ์ ครอบครัมมีประวัติ
สิ่งแวดล้อม มารดาติดเชื้อหัดเยอรมันช่วง3เดือนแรก
พยาธิสภาพ
การสร้างเนื้อเยื่อริมฝีปากตั้งแต่อายุครรภ์ 3-12 สัปดาห์
เพดานอ่อนและเพดานแข็งจะเชื่อมสมบูรณ์อายุครรภ์ 11-17สัปดาห์
อาการอาการแสดง
ทารกมีเพดาโหว่มักจะสำลักนมขึ้นจมูก
เข้าช่องหูชั้นกลางสำลักนมเข้าปอด
ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนต้น
ทารกปากแหว่งอย่างเดียว ไม่สามารถอมจุกนมได้สนิท ลมรั่ว พบท้องอืด
การพยาบาล
ดูแลด้านจิตใจ บิดามารดา
ให้คำแนะนำการดูแลทารก
ดูแลการให้นมแม่
กรณีที่ทารกไม่สามารถดูดนมแม่ได้แนะนำมารดาให้ใช้ขวดนมพิเศษ
ทารกตายในครรภ์ (dead fetus in utero DFU)
ความหมาย
การตายหรือเสียชีวิตเองโดยธรรมชาติของทารกก่อนคลอด โดยไม่คำนึงถึงอายุครรภ์
สาเหตุ
ด้านมารดา
อายุมากกว่า35 ปี
ภาวะทางสูติกรรม คลอดก่อนกำหนด มดลูกแตก รกลอกตัว รกเกาะต่ำ
ภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน SLE
ไม่มาฝากครรภ์ ใช้ยา อุบัติเหตุ
ด้านรก
รกลอกตัวก่อนกำหนด ติดเชื้อโพรงมดลูก สายสะดือผิดปกติ
ด้านทารก
IUGR
การกดทับของสายสะดือ
ภาวะพิการแต่กำเนิด ความผิกปกติของโครโมโซม
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ทารกไม่ดิ้น
ตรวจร่างกาย
น้ำหนักมารดาน้อยลง เต้านมเล็ก ฟังเสียงหัวใจทารกไม่ได้
สารคัดหลั่งสีนำ้ตาลไหลออกทางช่องคลอด
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเกยกันของกะโหลกศีรษะ
แก๊สในหัวใจ
ทารกไม่มีการเต้นของหัวใจ
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ด้านร่างกาย
มีภูมิคุ้มกันต่ำ มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
เกิดภาวะเลือดไม่แข็งตัว
ด้านจิตใจ
รู้สึกสูญเสีย ตกใจ เศร้า โทษตัวเอง
เกิดความกลัวความรู้สึกขัดแย้ง
การพยาบาล
ประเมินความต้องการสัมผัสกับทารกแรกคลอดที่เสียชีวิต
ให้การประคับประครองจิตใจ แนะนำให้สามีให้กำลังใจ ปลอบใจ
ติดตามผลตรวจเลือดเพื่อหาระยะการแข็งตัวของเลือด
ให้ยายับยั้งการหลั่งน้ำนมตามแผนการรักษา
นางสาวพัชรีวรรณ ใจมา 6101210323 เลขที่14