Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลมารดาและทารกที่มีภาวะอันตรายและภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม -…
บทที่ 7 การพยาบาลมารดาและทารกที่มีภาวะอันตรายและภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคหอบหืดในสตรีตั้งครรภ์ Asthma pregnancy
ความหมาย
การอักเสบและการอุดตันของทางเดินหายใจทีเกิดจากการตอบสนองของสิงที่มากระตุ้นมากเกินไป
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
เกสรดอกไม้
ไรฝุ่น
เชื้อรา
ควันบุหรี่
มลพิษทางอากาศ
น้ำหอม
การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
พยาธิสภาพ
สารก่อภูมิแพ้กระตุ้น Eosinophils , Macrophages ,T-cell,มารวมกันที่เนื้อเยื่อหลอดลมและผลิตสาร interleukin-3และ4กลับปกระตุ้น B-lymphocyteให้ผลิตIgEมาตอบสนองตอตัวกระตุ้น
การหลั่ง histamine , bradykinin , prostaglandins cytokines ซี่งเป็นสารที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบออกมาจากผนังหลอดลมทำให้หลอดลมหดเกร็ง บวม มีการหลั่งมูกออกมามากเกิดการตีบแคบของหลอดลม
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
รายที่ควบคุมไม่ได้
เสี่ยงต่อการแท้ง
การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อ pneumothorax
pneumomediastinum
cardiac arrhythmias
เสียชีวิต
ผลกระทบต่อทารก
คลอดก่อนกำหนด
เจริญเติบโตช้าในครรภ์
แรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย
แรกเกิดขาดออกซิเจน
รุนแรงมาอาจเสียชีวิต
กิจกรรมการพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำการป้องกันและหลีกเลี่ยงสาเหตุที่ทำให้อาการกำเริบ
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
ระยะคลอด
จัดท่านอนศรีษะสูง
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ดูแลให้ผ่อนคลาย
ประเมินอาการผิดปกติ
เตรียมอุปกรณ์สำหรับการช่วยคลอด
ระยะหลังคลอด
ดูแลเช่นเดียวกับมารดาหลังหลังคลอดปกติ
แนะนำการรับประทานยาตามแผนการรักษา
แนะนำการให้นมสามารถให้นมบุตรได้
ย้ำให้เห็นความสำคัญการมาตรวจตามนัด
อธิบายเกี่ยวโรคและการรักษา
วัณโรคปอดในสตรีตั้งครรภ์ pulmonaly Tuberculosis in preagnancy
ความหมาย
เป็นโรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจ แบบAribron-transmitted infection disease
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Genus Mycobacterrium (M.TB)
พยาธิสภาพ
เมื่อสูดอากาศเอาเชื้อวัณโรคเข้าสู่ร่างกาย ละอองฝอยขนาดใหญ่จะติดอยู่ที่จมูกและลำคอเชื้อเดินทางทางเข้าสู่ถุงลมปอดทำให้เกิดการติดเชื้อ (TB infection)
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
แท้ง
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ผลกระทบต่อทารก
น้ำหนักตัวน้อย
เสียชีวิตในครรภ์
การสำลักสารคัดหลั่งที่ติดเชื้อเข้าไปขณะคลอด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำการป้องกันอาการกำเริบ
ในรายที่่เป้นวัณโรคระยะมีอาการแนะนำการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ระยะคลอด
ห้ามเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาในรายที่่มีการติดเชื้อวัณโรคบที่เต้านมหรือเต้านมอักเสบจากเชื้อวัณโรค
Systemic Lupus Erythematosus(SLE)
ความหมาย
เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายมีการสร้าง Antibodiesต่อต้านเนื้อเยื่อและเซลล์ต่างๆของร่างกายตนเอง
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
กรรมพันธ์ุ
การติดเชื้อ
แสงแดดที่มีผลทำให้อาการกำเริบ
การใช้ยาบางชนิด
การออกกำลังกาย
การตั้งครรภ์ที่มีผลมาจากฮอร์โมน
พยาธิสภาพ
ร่างกายเกิดการสร้าง Antibodiesต่อต้านเนื้อเยื่อตนเอง
ทำให้มีการสะสม Immune complexes ทำให้เกิดการอักเสบของเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ไม่สามารถควบคุมโรคได้ทำให้อาการของโรคกำเริบ
เกิดภาวะกรวยไตอักเสบ
เสี่ยงต่อการวินิฉัยผิดพลาด
เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์เป็นพิษ
การพยาบาล
ระยะก่อนตั้งครรภ์
ให้คำปรึกษาแนะนำภาวะแทรกซ้อน
แนะนำให้รอโรคสงบลงอยางน้อย 6 เดือน จึงจะสามารถตั้งครรภ์ได้
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำการปฎิบัติตัวป้องกันอาการกำเริบ
อธิบายอาการกำเริบของโรคให้สตรีตั้งครรภ์ให้เข้าใจ
แนะนำการมาฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอ
ระยะคลอด
ติดตามความก้าวหน้าของการคลอด
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ดูแลให้ผู้คลอดผ่อนคลาย
เตรียมอุปกรณ์ช่วยคลอด
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการกำเริบของโรค
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารทีไม่สะอาด
หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นที่ทำให้เกิดความเครียด
พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ให้รับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทย์
แนะนำให้มารดาเลี้ยงบุตรด้วยนมได้
แนะนำและย้ำการมาตรวจตามนัดหลังคลอด
แนะนำการวางแผนครอบครัวด้วยวิธีการคุมกำเนิดที่เหมาะสม
ผลกระทบต่อทารก
คลอดก่อนกำหนด
แท้ง
ทารกเจริญเติบโตช้า
ทารกตายคลอด
เกิดภาวะ Neonatal lupus syndrome
โรคเลือดในสตรีตั้งครรภ์
ภาวะโลหิตจาง
ความหมาย
การมีระดับHemoglobin ต่ำกว่า 11 g/dl , Hematocrit ต่ำกว่า 33 % ของแต่ละอายุครรภ์
สาเหตุ
การสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง
การทำลายเม็ดเลือดแดงมากขึ้น
การสูญเสียเม็ดเลือดแดงพบในรายที่มีการตกเลือดขณะตั้งครรภ์
โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ( Iron deficiency anemia : IDA )
การตั้งครรภ์ความต้องการเหล็กจะเพิ่มมากขึ้นเป็น 1000แม้ว่าจะได้รับเหล็กจากอาหารก็ยังไม่เพียงพอต่อร่างกายทำให้เสี่ยงต่อโรคโลหิตจาง
สาเหตุ
การรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กไม่เพียงพอ
เกิดการเสียเลือดเรื้อรังจากแผลในกระเพาะอาหาร
พยาธิสภาพ
เมื่อร่างกายขาดธาตุเหล็กจะเกิดการเปลี่ยนแปลงถ้าไมได้รับการรักษาจะมีเหล็กไม่เพียงพอที่จะเปลี่ยน Protoporphyrinให้เป็น Hb ทำให้Protoporphyrin เพิ่มขึ้นหากยังไม่ด้แก้ไขจะเข้าสู่ระยะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก คือ ซีด ระดับ Hb Hct ลดลง
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
เหนือยง่าย ใจสั่น หายใจลำบาก
มีการติดเชื้อง่าย
เสี่ยงต่อภาวะครรภ์เป็นพิษ
เสี่ยงต่อการเสียชีวิตเมื่อมีการเสียเลือด
รายที่มีโลหิตจางรุนเเรง
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ติดเชื้อในกระเเสเลือด
ผลต่อทารก
คลอดก่อนกำหนด
พัฒนาการล่าช้า
ขนาดเล็กกวาอายุครรภ์
น้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่าปกติ
พิการหรือเสียชีวิต
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ประเมินสภาวะสตรีตั้งครรภ์
อธิบายให้เข้าถึงสภาวะของโรค
แนะนำการปฏิบัติตัว
ระยะคลอด
ระยะหลังคลอด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
ติดตามประเมินภาวะสุขภาพทารก
ในรายซีดมากต้องสังเกตุอาการของการตกเลือด
อาการและอาการแสดง
เหนื่อยง่าย ไม่มีเเรง ใจสั่น อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
โลหิตจางจากการขาดกรดโฟลิค ( Folic deficiency anemia )
มีความสำคัญในการสร้าง DNA เมื่อร่างกายมีการตั้งครรภ์และขาดเหล็กจะส่งผลตอการสร้างเซลล์ต่างๆทั้งเซลล์ประสาทและเม็ดเลือด
พยาธิสภาพ
มีความผิดพลาดในการจำลอง DNA ของเม็ดเลือดเเดงมีการปล่อยเม็ดเลือดแดงตัวอ่อนที่มีขนาดใหญ่ออกมามากขึ้นพบลักษณะทีเรียกว่า Megaloblastic anemia
อาการและอาการแสดง
มีอาการเช่นเดียวกับโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
แท้ง
ครรภ์เป็นพิษ
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ผลกระทบต่อทารก
NTD
ปากแหว่ง
พิการแต่กำเนิด
IUGR
โลหิตจางจากไขกระดูกฝ่อ (Aplastic anemia)
สาเหตุ
การใช้ยา การติดเชื้อ การได้รับสารเคมีรังสี
อาการ
จุดแดงขึ้นตามตัว เลือดออกตามอวัยวะต่างๆ
การพยาบาล
เน้นการลดการออกแรงในการทำกิจกรรม
ภาวะผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
DIC เป็นภาวะผิดปกติของการแข็งตัวของเลือดทีรุนแรงและเป็นสาเหตุของการตกเลือดทางสูติกรรม
ITP มี Antibodies-lgG ต่อเกล็ดเลือดตนเอง
โรคที่มีการทำลายของเม็ดเลือดแดง ( Hemolytic disease)
เป็นโรคโลหิตจางจาก G-6-PD deficiency
สาเหตุ
พันธุกรรม
อาการ
ไข้สูง หนาวสั่น ปัสสาวะสีคล้ายน้ำปลา
การพยาบาล
ป้องกันหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดอาการ
แนะนำควรพกบัตรประจำตัวที่เขียนชื่อผู้ป่วย
ภาวะหลอดเลือดอุดตันระหว่างการตั้งครรภ์ (Thromboembolic disorders in pregnancy)
ภาวะลิ่มเลือดอุดตันในเส้นเลือดดำ
สาเหตุ
ประวัติเคยมีโรคประจำตัว ประเภท Thrombophilia
พยาธิสภาพ
มดลูกมีขนาดที่ใหญ่ขึ้นและกดเส้นเลือด Pelvic artery และ inferior vena cava ทำให้เกิดภาวะ Stasis ของเลือด
ผลกระทบต่อมารดา
ครรภ์เป็นพิษ
แท้งม่ทราบสาเหตุ
คลอดก่อนกำหนด
ลิ่มเลือดหลุดออกไปอุดเส้นเลือดใหญภายในร่างกายอาจทำให้เสียชีวิต
อาการและอาการแสดง
ขาบวมมากกว่าปกติ อาจจะบวมข้างเดียว
ปวดขามาก เดินไม่ไหว กดแล้วปวด
เหมือนเส้นเลือดมีก้อนเล็กๆมาขวางภายในหลอกเลือด
ผลต่อทารก
เจริญเติบโตช้าในครรภ์
แท้ง
คลอดก่อนกำหนด
Fetal distress
ตายในครรภ์
ตายคลอด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำป้องกันภาวะหลอดเลือดดำอุดตันโดยการให้ออกกำลังกาย ขา เท้า ข้อ
แนะนำการสวมถุงน่องผ้ายืด
แนะนำให้หลีกเลี่ยงการนวดบริเวณขา
เน้นย้ำการมาตรวจตามนัด
ระยะคลอด
ดูแลให้ด้ออกซิเจน
บริหารยาละลายลิ่มเลือดตามแผนการรักษาอย่างเคร่งครัด
หลีกเลี่ยงการทำคลอดในท่า Lithotomy ควรทำคลอดในท่า dorsal recumbent
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังตกเลือดหลังคลอด
ส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
แนะนำการคุมกำเนิด
สังเกตอาการผิดปกติและการมาตรวจมานัด