Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Drug Interanctions - Coggle Diagram
Drug Interanctions
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิด Drug-Drug Interaction
3.ระยะเวลาของการรักษา (duration of treatment)
4.ความแตกต่างของผู้ป่วยในการตอบสนองต่อยา เช่น อายุพันธุกรรม ภาวะของโรคที่เป็นอยู่ การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา
2.ลำดับของการให้ยา (order of administration)
1.การใช้ยาหลายชนิดร่วมกัน
Drug-nutrient interactions
-ความสัมพันธ์ของเวลาในการรับประทานยา –รับประทานอาหาร >>ผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
-การเกิดปฏิกิริยาระหว่างยากับอาหาร >> ผลการออกฤทธิ์ของยา เพิ่มขึ้น หรือลดลง หรือไม่ออกฤทธิ์ก็ได้
-การรับประทานยา ก่อนอาหาร >> (ก่อน 30 นาที-1ชั่วโมง หรือหลัง
อาหาร 1-2ชั่วโมง) >> เพื่อป้องกันการรบกวนยาจากอาหาร หรือป้องกันกรดในกระเพาะอาหารการรับประทานยา หลังอาหาร >> (พร้อมอาหาร หรือหลังอาหาร)
ตัวอย่าง drug –food interaction
-การใช้ยา tetracycline ร่วมกับ อาหารที่มีแคลเซียมเป็นส่วนประกอบ (นม, โยเกรติ์ , ไอศกรีม) >> ยาจะถูกจับไว้จนไม่สามารถดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้
-การใช้ยา chlorpheniramine ร่วมกับ แอลกอฮอล์ (หรือเครื่องดื่ม
ที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์) >> ทำให้อาการง่วงซึมเพิ่มมากขึ้น
-การใช้ยา warfarin ร่วมกับอาหารที่มีวิตามิน K สูง(ผักใบเขียว, ผัก
ขม, บร็อกโคลี่, กะหล่ำปลี, ชาเขียว, ตับหมู, ตับวัว) >> วิตามิน Kทำหน้าที่ช่วยการแข็งตัวของเลือด >> ซึ่งจะต้านฤทธิ์ของยาwarfarin (anticoagulant) >>ท าให้ประสิทธิภาพของยา warfarin ลดลง
-Grapefruit (ผลไม้ตระกูลส้ม) เป็น enzyme inhibitor >> ยับยั้ง
การทำงานของ CYP450 (CYP3A4) >> การใช้ร่วมกับยาterfenadine, nifedipine, midazolam >> จะทำให้ระดับยาในร่างกายเพิ่มขึ้น >> เกิดผลข้างเคียงจากยาเพิ่มขึ้น
กลไกทางด้านเภสัชจลนศาสตร์
(Pharmacokinetic interactions)
การดูดซึม (absorption interaction)
Absorption Interactions
(ปฏิกิริยาระหว่างยาที่เกี่ยวข้องกับการดูดซึมยา): เกิดการลด อัตรา/ปริมาณการดูดซึมยา >> ระดับยาในเลือดไม่ถึงระดับรักษา (therapeuticlevel) ไม่มีผลการรักษาตามต้องการ
การลดอัตราการดูดซึมยาเนื่องจากการบีบตัวของกระเพาะอาหารและลำไส้ลดลง
Alterlad PH:การลดปริมาณการดูดซึมยาจากการเปลี่ยนแปลง pH ในกระเพาะอาหารและลำไส้ ได้แก่ เช่น การใช้ยาketoconazole ร่วมกับ antacid >> ยาลดกรดทำให้ค่าpH ในกระเพาะอาหารและลำไส้เพิ่มขึ้น (เบส) >>ketoconazole ดูดซึมลดลง
Complexation or chelation
การลดปริมาณการดูดซึมยาจากการเกิด form insoluble complex (สารประกอบที่ไม่ละลายน้ำ)เช่นการใช้ยา tetracycline ร่วมกับ antacid (ยาลดกรด) >> เกิด insoluble complex ระหว่าง tetracycline กับ antacid >> ทำให้ยา tetracycline ไม่ถูกดูดซึมป้องกันโดยรับประทานยา ห่างจาก antacid 2 ชม.
การกระจายยา (distribution interaction)
Distribution Interactions
(ปฏิกิริยาระหว่างยาที่เกี่ยวข้องกับการกระจายยา)
Protein-binding displacement interactions
(ปฏิกิริยาระหว่างยาที่เกิดจากการจับกับ plasma protein)
โดยปกติยาที่ถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือด จะกระจายไปยังอวัยวะต่างๆ ผ่านทางเลือด >> ยาอยู่ในเลือด 2 รูปแบบ คือ รูปอิสระ (free form)และรูปที่จับกับplasma protein
Free formเท่านั้นที่ออกฤทธิ์(active) เพราะสามารถไปถึงตำแหน่งที่ออกฤทธิ์ได้ (target organ)
ถ้าปริมาณการจับของยา กับ plasma protein เปลี่ยนแปลง >> ทำให้ free formเปลี่ยนแปลงด้วย >> จึงมีผลต่อฤทธิ์องยา
การใช้ยามากกว่า 2 ชนิด ที่จับกับ plasma protein ร่วมกันจะเกิดการแข่งขันกันจับกับ plasma protein >> เพิ่มความเข้มข้นของ free form
ยาที่มีความสามารถจับกับ plasma protein ได้ดี เช่น Phenytoin (90%),
Ibuprofen (99%), Warfarin (97%)
การเปลี่ยนสภาพยา (metabolism interactions)
Metabolism Interaction (ปฏิกิริยาระหว่างยาที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง/เปลี่ยนสภาพยา)
เป็นปฏิกิริยาที่เกิดจากการเปลี่ยนสภาพยา โดยการเพิ่ม หรือลดกระบวนการ Metabolism (การกระตุ้นหรือยับยั้งเอนไซม์ cytochrome P450: CYP450)
CYP เป็น enzyme ที่มีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงสารเคมีต่างๆทั้งที่อยู่ในร่างกายและรับจากภายนอกร่างกาย >> จัดเป็นตัวเร่งชีวภาพ พบภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตต่างๆ >> สามารถแบ่งเป็น family และ subfamily ตามความคล้ายคลึงของลำดับamino acid
Enzyme ที่มีบทบาทสำคัญ เช่น CYP3A4, CYP1A2,
CYP3A5, CYP2D6, CYP2C subfamily (2C9, 2C19)
กล่มุยาที่ตอบสนองต่อเอนไซม์ได้ดี เรียกว่า extensive
metabolizer
กล่มุยาที่ตอบสนองต่อเอนไซม์ไม่ดี เรียกว่า poor
metabolizer
การกำจัดยา (elimination interactions)
Elimination Interaction(ปฏิกิริยาระหว่างยาที่เกี่ยวข้องกับการกำจัดยา)
ส่วนมากเกี่ยวข้องกับไต>> การเปลี่ยนแปลง GFR (glomerular filtration
rate), tubular secretion, pH ของปัสสาวะจะรบกวนการขับถ่ายยาบางชนิดได้
ยาที่เป็นกรด/เบส อ่อน จะแตกตัวได้น้อย >> เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงของค่าpH จะส่งผลต่อการแตกตัวของยา >> การดูดซึมกลับที่ท่อไต (tubularreabsorption) จะอยู่ในรูปไม่แตกตัวเป็นไอออน
ADRs :Adverse Drug Reactions
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
การแพ้ยา (Drug allergy) หมายถึง ปฏิกิริยาที่เกิดจากภูมิคุ้มกันของ
ร่างกายต่อต้านยาที่ได้รับเข้าไป
• ไม่เกี่ยวกับฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของยา ไม่สามารถคาดเดาล่วงหน้า
• พบน้อย แต่มักรุนแรง
• ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น มีการเปลี่ยนแปลงของระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย
ผลข้างเคียงจากการใช้ยา (Side effect)
• อาการที่เกิดขึ้นมักจะไม่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย
• ผลที่เกิดขึ้นมักเป็นฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา สามารถคาดเดาล่วงหน้า
• อาการมักไม่รุนแรง แต่พบบ่อย
การแพ้ยา Drug allergy
การเกิดปฏิกิริยาชนิดนี้ จะมีการเปลี่ยนแปลงของ ระบบภูมิคุ้มกัน จัดออกได้เป็น 4แบบ
3.Immune complex type hypersensitivity reaction
ปฏิกิริยาการแพ้แบบการจับตัวกันของยากับโปรตีนในร่างกายทำให้เกิดการกระตุ้นภูมิคุ้มกันของร่างกาย อาการแสดงมีหลายรูปแบบอาจพบอาการผื่นที่ไม่รุนแรงหรือมีความรุนแรง
4.Delayed type hypersensitivity reaction
ปฏิกิริยาการแพ้แบบที่เกี่ยวข้องกับเนื้อเยื่อ กระตุ้นภูมิคุ้มกันของร่างกายทางเซลเม็ดเลือดขาวชนิดหนึ่งที่เรียกว่า ที-เซล (T-cell) มีผลให้หลั่งสารที่ทำให้เกิดการอักเสบแก่เนื้อเยื่อของอวัยวะต่างๆในร่างกาย
2.Cytotoxic type hypersensitivity reaction
ปฏิกิริยาการแพ้แบบมีการทาลายเซลล์มักแสดงอาการที่เกี่ยวข้องกับ
การทาลายเซลเม็ดเลือด เช่น ภาวะโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตกระยะเวลาที่เกิดอาการไม่แน่นอนหรือประมาณ 7-14 วันหลังจากเริ่มใช้ยา
1.Immediate type hypersensitivity reaction หรือเรียกว่า Anaphylactic type
ปฏิกิริยาการแพ้แบบเฉียบพลันหรืออะนาไฟแลกติก อาการเกิดขึ้น
รวดเร็วเฉียบพลันหลังใช้ยาเป็นนาที หรือภายใน 1 - 72 ชั่วโมง โดยทั่วไปจะมีประวัติเคยใช้ยามาก่อน
Maculo-papular rash
–Macule : ผื่นที่มีการเปลี่ยนแปลงของสีผิว
–Papule : ตุ่มนูนที่ผิวหนัง
Fixed Drug Eruption
ผื่นรูปร่างกลม ขอบชัด สีแดงจัด จนตรงกลางของผื่นอาจเปลี่ยนเป็นสีแดงคล้าหรือสีม่วง เนื่องจากการตายของผิวหนังตรงกลางผื่น
ผื่นมักมีจำนวนน้อย แต่จะเพิ่มมากขึ้นในการแพ้ยาครั้งต่อๆมา
เป็นผื่นแพ้ยาเพียงชนิดเดียวที่พบว่าเกิดขึ้นจากการใช้ยาเท่านั้น
ลักษณะส่าคัญ คือจะเกิดผื่นซ้่าบริเวณเดิมทุกครั้งถ้าได้รับยาที่แพ้ซ้่า มักเกิดภายใน 30นาที แต่มักเป็นไม่นานเกิด 24 ชม. แต่เมื่อผื่นหายแล้วจะปรากฏเป็นรอยดานานเป็นเดือน
ยาที่พบรายงานบ่อย ได้แก่ cotrimoxazole
Erythema Multiforme (EM)
EM major : Steven Johnson Syndrome
จะมีผื่นตามเยื่อบุมากกว่า 1 แห่ง และมีอาการรุนแรงกว่า
EM minor : EM
-ผื่นตามผิวหนังร่วมกับผื่นตามเยื่อบุอีก 1 แห่ง เช่น เยื่อบุตา ช่องปาก
ต่าแหน่งที่มักพบผื่นขึ้นก่อนและพบบ่อย คือ ฝ่ามือฝ่าเท้า แขนขา เยื่อบุ จากนั้นจะลามไปที่ลาตัว บริเวณเยื่อบุจะมีอาการมาก โดยอาจพบแผลที่
เยี่อบุตา ช่องปากจมูก อวัยวะเพศ
ผื่นมักเกิดภายหลังรับยา 5-7 วัน
กลไกทางด้านเภสัชพลศาสตร์
(Pharmacodynamic interactions)
เป็นปฏิกิริยาที่เกี่ยวกับการ เพิ่ม หรือ ลดฤทธิ์หรือเสริมผลข้างเคียง ของ object drugโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงระดับยาของ object drug และ precipitant drug มี 3 แบบตามผลที่ได้ ได้แก่
Synergistic or Additive side effect
-เป็นการเสริมฤทธิ์ข้างเคียง
-การใช้ยากลุ่ม antihistamine ร่วมกับยาคลายกล้ามเนื้อ (skeletal musclerelaxant)>> เกิดอาการง่วงซึม(drowsiness)
Synergistic or Additive effect
-การให้ยาที่ม่ีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาบางอย่างเหมือนกัน >> ทำให้ฤทธิ์ของยาเสริมกัน
-การใช้ยา diazepam ร่วมกับยา chloral hydrate ในการรักษาอาการนอนไม่หลับ >> เกิดการกดประสาทส่วนกลาง
-การใช้ยา aspirin ร่วมกับยา warfarin เพื่อเป็นยา anticoagulant >> เกิด
hemorrhage หรือ bleeding ได้
Indirect Pharmacodynamics effect
-เป็นการเกิดผลทางอ้อมจากการใช้ยาร่วมกัน
-การใช้ยา diuretic ร่วมกับยา digoxin >> diuretic ทำให้สูญเสีย K+ ใน
plasma >> ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจตอบสนองต่อ digoxin เพิ่มขึ้น >> เกิดพิษจากdigoxin >> arrhythmia