Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาต้านมะเร็งและยาที่มีผลต่อระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย - Coggle Diagram
ยาต้านมะเร็งและยาที่มีผลต่อระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย
Tumor เป็นก้อนเนื้องอก
Benign neoplasma คือ เนื้องอกที่ไม่รุกรานเนื้อเยื่อข้างเคียง
Malignant neoplasma คือ เนื้องอกที่รุกรานเนื้อเยื่อข้างเคียงและแพร่กระจายไปยังอวัยวะข้างเคียง (metastasis)
มะเร็ง cancer
รุกรานเนื้อเยื่อข้างเคียง
หรืออาจแพร่กระจายไปยังที่อื่น ๆ (metastasis) (การแพร่กระจายของเนื้อร้าย)
มะเร็งเป็นกลุ่มของโรคที่เซลล์เจริญ หรือมีการแบ่งตัวที่ผิดปกติการที่เซลล์เปลี่ยนสภาพไปจากปกติจะไม่อยู่ในการควบคุมวัฎจักรการแบ่งตัว
Cancer Chemotherapy
Growth fraction
Tumor cells สามารถแบ่งชนิดของเซลล์ดังนี้
proliferating cells เป็นเซลล์ที่มีการขยายตัว
non-proliferating cells. เป็นเซลล์ที่ไม่มีการ
ขยายตัว
อัตราส่วนของการเพิ่มการเจริญเติบโตเรียกเซลล์นี้ว่า
growth fraction (GF).
Proliferating cells
-Pre-synthetic phase (G1) หรือ pre-synthetic gap เป็นระยะที่เซลล์สร้าง RNA และโปรตีนจำนวนมาก เตรียมตัวพร้อมที่จะสร้าง DNA และแบ่งเซลล์ ระยะแรกเรียกว่า G1A ระยะที่สองเรียกว่า G1B ซึ่งมีระยะเวลาคงที่
-resting-phase (G0) เป็นระยะที่เซลล์อยู่ในระยะฟักตัว ไม่มีการเจริญเติบโต แต่พร้อมที่จะผ่านเข้าสู่ระยะ G1 เซลล์ในระยะนี้มักจะดื้อต่อยาเคมีบำบัด
-Synthetic phase (S) เป็นระยะที่เซลล์สร้าง DNA เป็นจำนวนมากเพิ่มขึ้นเท่าตัว
Mitosis phase (M Phase)
เป็นระยะที่เซลล์แบ่งตัวแบบ mitosis เป็น 2
daughter cells และมีโอกาสเปลี่ยน แปลงต่อไป 3 ทางด้วยกันได้แก
ผ่านเข้าสู่ระยะ G0 หยุดพักการเจริญเติบโต
แก่ตัวเป็น differentiated cell และอาจจะแตกสลายไป
ผ่านเข้าสู่ระยะ G1 ของ cell cycle อีกครั้ง
Mechanisms of Antineoplastic Drugs (MOA)
Interfering with the transcription to inhibit RNA synthesis
Inhibition of protein synthesis
inhibition of nucleic acid (DNA and RNA) synthesis
destruction of DNA or inhibition of DNA duplication
Interfering with hormone balance
Classification of Antineoplastic Drugs
-Cell cycle non specific drugs/Cycle-independent
drugs: ยาออกฤทธิ์ทำลายเซลล์ทุกระยะ ไม่ว่าเซลล์จะอยู่หรือไม่อยู่ใน cell cycle ยาจะทำลายทั้งเซลล์ปกติและเซลล์มะเร็ง เนื่องจากยามีผลทำลายเซลล์ที่กำลังแบ่งตัวและไม่แบ่งตัว
-Cell cycle specific drugs/Cycle-dependent drugs: ยาจะ
ออกฤทธิ์ได้ทุกระยะในวงจรของเซลล์ ยกเว้นเซลล์ไม่ได้อยู่ใน cellcycle โดยยาแต่ละชนิดจะออกฤทธิ์เฉพาะที่ phase ใด phaseหนึ่งเท่านั่น (specific phase)
Alkylating agents
MOA: ออกฤทธิ์ต่อเซลล์ทุกระยะของวงจร (cell cycle nonspecific, CCNS) โดยรวมตัวกับ DNA ทำให้เกิดความผิดปกติด้าน cross-linking ของ DNA strands และกลไกอื่นด้วย
ตัวอย่างของยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ nitrogen mustard,
cyclophosphamide, ifosfamide, cisplatin และ dacarbazine
ใช้ในการรักษา: มะเร็งรังไข่ มะเร็งเต้านม มะเร็งต่อมน้ าเหลือง Hodgkin’s disease,lymphoma
ผลข้างเคียง
ถ้ายารั่วออกนอกหลอดเลือดจะทำให้เนื้อเยื่อบริเวณรอบตาย (extravasation)
พิษต่อไต (nephrotoxicity)
กดไขกระดูก (Bone marrow suppression) ทำให้ซีด (anemia)
กระเพาะปัสสาวะอักเสบและมีเลือดออกในปัสสาวะ บรรเทาโดยการให้ mesna ร่วม เพราะ mesna จับกับ acrolein ซึ่งเป็นเมทาบอไลต์ที่เป็นของยาในปัสสาวะ
พิษต่อหู (hearing loss)
ชาตามปลายมือปลายเท้า (paresthesias)
การดื้อยา: ยาเข้าสู่มะเร็งน้อยลง หรือเพิ่มกระบวนการซ่อมแซบ DNA
Antimetabolites
Antimetabolites ออกฤทธิ์จำเพาะต่อระยะหนึ่งของวงจร
ชีวิตของเซลล์ (cell cycle specific หรือ CCS) คือ S phaseที่กำลังสร้าง DNA ประกอบด้วย 3 กลุ่มย่อยคือ
Folic acid antagonists
ใช้ในการรักษา: มะเร็งเม็ดเลือดขาว, มะเร็งต่อมน้ำเหลือง, มะเร็งเต้านม
ผลข้างเคียง: กดไขกระดูก (Bone marrow suppression) ทำให้ซีด (anemia) , พิษต่อตับ, พิษต่อไตในขนาดสูง, ผมร่วง (alopecia)
ยากลุ่มนี้คือ Methotrexate, Pemetrexed
ยากลุ่มนี้ทำให้เกิดอาการ folate deficiency ในเซลลปกติแก้ไข
โดยการให้ Leucovorinรวมด้วย
MAO: ออกฤทธิ์ห้ามการเปลี่ยน folic acid เป็น tetrahydrofolate ทำให้การสร้าง nucleic acid หยุดชงัก ซึ่งเป็นส่วนประกอบของ DNA และ RNA
การดื้อยา: ลดการผ่านของยาเข้าเซลล์ และมีการเปลี่ยนแปลงเอนไซม์ Dihydrofolatereductase
Purine antagonists
MAO: ออกฤทธิ์ขัดขวางการสร้าง purine โดยยากลุ่มนี้รวมตัวเข้าไปอยู่ใน DNA และ RNA
ยากลุ่มนี้คือ 6-mercaptopurine (6-MP) และ 6-thioguanine (6-TG)
ใช้ในการรักษา: มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด acute lymphocytic leukemia
ผลข้างเคียง: กดไขกระดูก (Bone marrow suppression) ถ้าในปริมาณสูงทำให้เกิด leucopenia thrombocytopenia, พิษต่อตับ และรบกวนระบบทางเดินอาหาร (คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร)
การดื้อยา: ลดปริมาณเอนไซม์ Hypoxantine Guanine Phosphoribosyl Transferase(HGPRT) ลดลง เพิ่มการทำงานของ alkaline phosphatase ทำให้ยาเป็นสารที่ไมมีฤทธิ์
Pyrimidine antagonists
ยากลุ่มนี้คือ 5-fluorouracil, Fludarabine และ cytosine arabinoside
ใช้ในการรักษา: มะเร็งเต้านม มะเร็งทางเดินอาหาร เช่น มะเร็งตับอ่อน มะเร็งกระเพาอาหาร มะเร็งลำไส้ใหญ
MAO: ขัดขวางการสร้าง pyrimidine ท าให้รบกวนการสร้าง DNA และ RNA
ผลข้างเคียง: กดการสร้างเม็ดเลือด (Myelosuppression) แผลทางเดิน
อาหาร (stomatitis) แผลในช่องปาก (oral ulcer) ผมร่วง (alopecia)
Antimitotics (plant alkaloids)
ยากลุ่ม vinca alkaloids (plant alkaloids)
Vinblastin, vincristin
ยากลุ่ม taxanes
Paclitaxel, docetaxel
-MOA: จับกับหน่วยย่อยของ β- tubulin ทำให้เพิ่มการก่อตัวเป็น
microtubules แต่ยับยั้งการสลายของสาย microtubules ทำให้การแบ่งเซลล์ mitosis ไม่สมบูรณ์โดยหยุดชะงักที่ระยะ nanaphase
-ยาในกลุ่มนี้: Paclitaxel, docetaxel
-ใช้ในการรักษา: มะเร็งรังไข มะเร็งปอด มะเร็งเต้านม
-ผลข้างเคียง: กดไขกระดูก (bone marrow suppression) เกิดปฏิกิริยาการแพ้ เช่น ผื่นลมพิษ มีผลต่อระบบทางเดินอาหาร ปลายประสาทผิดปกติ(peripheral neurotoxicity)
-MAO: ยากลุ่มนี้ออกฤทธิ์โดยตรงต่อวงจรชีวิตของเซลล์ในระยะ Mitosis ของเซลล์โดยจับกับ β- tubulin มีผลท าให้ β-tubulin จับกับ α- tubulin เพื่อกลายเป็นmicrotubule ไมได (Antimicrotubule drug) ทำให้เซลล์หยุด แบ่งตัวในระยะ Metaphase (M phase) และเกิดการตายของเซลล์
-ยาในกลุ่มนี้: Vinblastin, vincristin
-ใช้ในการรักษา: มะเร็งปอด มะเร็งอัณฑะ มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
-ผลข้างเคียง: กดไขกระดูก (bone marrow suppression)
ปลายประสาทอักเสบ (neurotoxicity)
Antibiotics
-มีกลไกทำให้เกิด DNA intercalation (การสอดแทรกในสาย DNA)
-MOA: โดยการสอดแทรกเข้าในสาย DNA ของยาต้านมะเร็งที่เป็นสารปฏิชีวนะทำให้รบกวนเมทาบอลิซึมของ DNA นอกจากนี้ยังทำให้เกิดปฏิกิริยากับ Fe2+ และ hydrogenperoxide (H2O2) ได้สารอนุมูลอิสระ (HO.) ซึ่งท าให้ DNA แตก
-ยาในกลุ่มนี้: Dactinomycin, Doxorubicin, Daunorubicin, Bleomycin, Mitomycin
-ใช้ในการรักษา: มะเร็งปอด มะเร็งเม็ดเลือดขาว มะเร็งอัณฑะ มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
ผลข้างเคียง:
-กดไขกระดูก (bone marrow suppression) -ถ้ายารั่วออกนอกหลอดเลือดจะทำให้เนื้อเยื่อบริเวณรอบตาย (extravasation) -รบกวนระบบทางเดินอาหาร - ผมร่วง (alopecia) -ปัสสาวะสีแดง
Hormones and antagonists
-MOA: ส่วนใหญ่เป็นพวก steroid hormone โดยฮอร์โมนแต่ละ
อย่างจะให้ผลต่อต้านมะเร็งที่ค่อนข้างเฉพาะเจาะจงโดยออกฤทธิ์ทำให้การเจริญเติบโตของเซลล์ในอวัยวะที่ออกฤทธิ์เปลี่ยนแปลงในการ
สังเคราะห์ RNA และ Protien rceptor หรือยับยั้งการหลั่งฮอร์โมนอื่นๆ
Hormone agent
1.Corticosteroid เช่น prednisolone, hydrocortisone
2.antiestrogens เช่น Tamoxifen (มะเร็งเต้านม)
3.aromatase inhibitors เช่น aminoglutethimide, anastrozole,
exemestan (มะเร็งเต้านม, ต่อมหมวกไต)
4.antiandrogens เช่น goserelin, abarelix (มะเร็งต่อมลูกหมาก), ethinylestradiol (รักษาภาวะประจำเดือนผิดปกติ)
MODES OF ADMINISTRATION
วิธีใช้เคมีบำบัดรักษาผู้ป่วยมะเร็งมีอยู่ 2 วิธีใหญ่
Monotherapy เป็นการใช้ยาเคมีบำบัดเพียงชนิดเดียว วิธีนี้
ใช้กันน้อยลงเรื่อย ๆ เพราะมีประสิทธิภาพต่ำ ได้ผลในมะเร็งเพียงบางชนิดเท่านั้น
Combination chemotherapy หรือ polytherapy เป็น
การใช้ยาเคมีบำบัดหลายชนิดร่วมกัน นิยมใช้กันมากขึ้นเพราะมีผลการรักษาดีกว่า และมีผลข้างเคียงน้อย
Principles of combination therapies
หลักการพิจารณาเลือกใช้ยาเคมีบำบัดร่วมกัน ประกอบด้วย
1.Simple logic
1.1 ยาแต่ละชนิดสามารถฆ่าเซลล์มะเร็งชนิดนั้นๆ ได้
1.2 ยาแต่ละชนิดออกฤทธิ์เสริมกัน (synergistic)
1.3 มีกลไกออกฤทธิ์ทำลายเซลล์มะเร็งแตกต่างกัน
1.4 มีพิษหรือผลข้างเคียงต่ออวัยวะต่างชนิดกัน
1.5 เกิดอาการพิษหรือผลข้างเคียงต่างเวลากัน
Intracellular metabolism ได้แก่
2.2 Cytokinetic approaches อาศัยหลักการแบ่งยาเคมีบ าบัดเป็น 2 กลุ่ม
ก. กลุ่ม cell cycle non-specific (CCNS) ออกฤทธิ์ท าลายเซลล์ได้ทุก phase ทั้งในระยะฟักตัว (G0)และขณะก าลังเจริญเติบโต (G1, S, G2, M)
ข. กลุ่ม cell cycle specific (CCS) ออกฤทธิ์ทำลายเซลล์ที่อยู่ในระยะต่าง ๆ ของการเจริญเติบโต แต่มีผลน้อยมากต่อเซลล์ที่อยู่ใน G0 phase วิธีใช้ยาเคมีบำบัดร่วมกันจึงอาจจะเป็นแบบ
2.3 Sequencing หมายถึงการใช้ยาเคมีบำบัดที่มีประสิทธิภาพในการรักษามะเร็งชนิดนั้นๆ แยกเป็น 2 ชุด ให้สลับกัน ทำให้รักษาได้ผลดีขึ้น
2.1 Biochemical modulation ใช้ยาอื่นช่วยทำให้ยาเคมีบำบัดออกฤทธิ์ดีขึ้น เช่น การให้ allopurinol ช่วยเพิ่มฤทธิ์ของยา 5-fluorouracil
Miscellaneous agents
Principles of combination therapies
Non-proliferating cells
-การเพิ่มจำนวนและขนาดของเซลล์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกลไกการปรับตัวของเซลล์ หรือที่เรียกว่า Cellular adaptation
-เกิดเนื่องจากสิ่งกระตุ้น (Stimulus) ดังนั้นเมื่อหมดสิ่งกระตุ้นการเพิ่มจำนวนและขนาดของเซลล์ที่เกิดขึ้นก็กลับสู่สภาวะปกต
ยาปรับภูมิคุ้มกัน คือ ยาที่กดหรือกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน
ยากดภูมิคุ้มกัน (immunosuppressants)
ยากลุ่ม Calcineurin inhibitors เป็นยาที่ทำให้เซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด
T-lymphocye ซึ่งมีหน้าที่คอยกำจัดสิ่งแปลกปลอมของร่างกาย ทำงานได้ลดลง) เช่นยา Cyclosporin Tacrolimus
ใช้ในการรักษา: การปลูกถ่ายอวัยวะ (organ transplantation) เช่น ไข
กระดูก และยังรักษาเกี่ยวกับ rheumation และ psoriasis
ผลข้างเคียง: nephrotoxicity, neurotoxicity,hirsutism, gingival
hyperplasia
ยากลุ่ม Cytotoxic drugs คือ ยาที่หยุดยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์ T
และ B cell เช่น Cyclophosphamide, Azathioprine
ใช้ในการรักษา: การปลูกถ่ายอวัยวะ (organ transplantation), SLE
ผลข้างเคียง: Hemorrhagic cystitis (mesna), alopecia, bone
marrow suppression
Adrenocorticoids คือ ยาที่หยุดยั้งการ transcription และ การ
แสดงออกของ gene เช่น dexamethasone, prednisolone
ใช้ในการรักษา: ต้านการอักเสบ (anti-inflammation)
ผลข้างเคียง: กระดูกพรุน, เบาหวาน, crushing syndrom gastic ulcer
ยากระตุ้นภูมิคุ้มกัน (immunostimulants)
ใช้ในการรักษา: ไวรัสตับอักเสบบี
ผลข้างเคียง: ไข้ ปฏิกิริยาการแพ้
Interferons เพิ่มการทำงานของ T-cell และการจับกินโดย
macrophages
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด
พยาบาลจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับชนิดของโรคมะเร็งที่ผู้ป่วยเป็นอยู่
ความก้าวหน้าของโรค การรักษา ยาที่ใช้ และพิษแต่ละชนิดของยา
พยาบาลควรทราบถึงฤทธิ์ของยาหลายขนานร่วมกัน ระหว่างยา
รักษามะเร็งด้วยกัน, ระหว่างยารักษามะเร็งกับยาชนิดอื่น
การดูแลเรื่องซีด และเรื่องเลือดออกง่าย
การประเมินก่อการให้ยา ดูแลเรื่องภาวะโภชนาการ ตรวจสภาพ
ผิวหนังตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า สภาพช่องปาก
การดูแลให้ได้รับน้ำ และอาหารอย่างเพียงพอ
การให้คำแนะนำแก่ญาติและผู้ป่วย
การป้องกันและดูแลความสุขสบายทั่วไปจากพิษของยา
การป้องกันการติดเชื้้อ
การดูแลด้านจิตใจ
การเตรียมยาและวิธีให้ยา