Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 นโยบาย กฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ และประเด็นจริยธรรมในการดู…
หน่วยที่ 3
นโยบาย กฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ และประเด็นจริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ
แนวคิดเกี่ยวข้องกับลักษณะผู้สูงอายุ
แนวคิดเกี่ยวกับความสำเร็จในวัยสูงอายุ
Interpersonal relationship >> ช่วยเหลือ สอนแนะผู้อื่น
Productive >> ถ่ายทอดข้อมูล เพิ่มคุณค่าแก่สังคม
แนวคิดพฤฒพลัง
การมีส่วนร่วมกับสังคมให้นานที่สุด
พึ่งพาตนเองได้
การสร้างหลักประกันและความมั่นคงให้ตนเองตามอัตภาพ
แนวคิดผู้สูงอายุสุขภาพดี
ผู้สูที่ปราศจากโรคมีศักยภาพในการดำรงชีวิตได้ตามปกติ
แนวคิดผู้สูงอายุ
การเป็นผู้สูงอายุที่ยังมีศักยภาพและความสามารถในการพึ่งพาตนเองเท่าที่จะทำได้ของผู้สูงอายุ
ใช้ความสามารเพื่อให้เกิดความสร้างสรรค์ต่อตนเอง และผู้อื่น
ลดอุปสรรคในการดำเนินชีวิตของผู้สูงอายุในการดึงความสามารถของผู้สูงอายุมาใช้ประโยชน์
เจตคติและประเด็นจริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ
จริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ
การมีสัจจะและซื่อสัตย์
การไม่ทำอันตราย
เคารพเอกสิทธิ์
การทำประโยชน์
ความยุติธรรม
ประเด็นจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการตัดสิน
Myth
ความเชื่อผิดๆเกี่ยวกับผู้สูงอายุ ทางบวกและทางลบ
Stereotype
การเหมารวม
Discrimination
การแบ่งแยก เป็นการแบ่งแยกผู้สูงอายุจากคนปกติ
Prejudice
เจตคติรังเกียจกลุ่ม หรือ stereotype ทำให้เกิดความรูสึกรังเกียจ
ประเด็นจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการตัดสิน
Advance Directive
คนไข้กำหนดหรือแสดงเจตนาเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล
Living Will
เอกสารทางกฎหมายที่ยืนยันและดำเนินการรักษาพยาบาล
การขอความยินยอมในการรักษา ต้องมี 3 ส่วน
Voluntariness
ผู้ป่วยตัดสินใจโดยปราศจากการขู่เข็ญบังคับทั้งทางตรงและทางอ้อม
Capacity
ผู้ป่วยมีความสามารถในการแยกผลดีและผลเสีย
Disclosure
ผู้ป่วยทราบข้อมูลเพียงพอที่จะสร้างความเข้าใจในการตัดสินใจรับการรักษา
แผนรองรับนโยบายเร่งรัดของผู้บรหารกระทรวงสาธารณาสุขพ.ศ.2563
ตัวชี้วัด
ร้อยละของประชากรผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละ 60
ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80
เป้าหมาย
กลุ่มภาวะพึ่งพิงที่ irreversible partial ติดบ้าน ADL 5-11 total ติดเตียง ADL 0-4
กลุ่มสุขภาพดี Capacity ดี ADL มากกว่าหรือเท่ากับ 12
กลุ่มมีภาวะพึ่งพิงที่ reversible คาดว่าดีขึ้นภายใน 6 เดือน
กลุ่มผู้ป่วยระยะสุดท้ายโดยบรรเทาการทรมาน
การดำเนินงานด้านผู้สูงอายุในไทย
2540
ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ
2530
รักษาพยาบาลฟรีและมีเบี้ยยังชีพ
2525
กำหนดวันผู้สูงอายุ 13 เมษายน
ก่อตั้งคณะกรรมการผู้สูงอายุแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ
2542
ประกาศใช้ ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย
2543
จัดตั้งคณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานผู้สูงอายุแห่งชาติ จัดทำแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2545-2564)
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2545-2564)
ด้านการส่งเสริมผู้สูงอายุ
ด้านระบบคุ้มครองสังคม
ด้านการเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อวัยสูงอายุ
ด้านการประมวลกและพัฒนาองค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุ
ด้านการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาผู้สูงอายุ
พระราชบัญญัติ
หลักที่กำหนดให้ผู้สูงอายุมีสิทธิได้รับการคุ้มครองในด้านต่างๆ
กระทรวงศึกษาธิการ
เรื่องการส่งเสริมและสนับสนุนผู้สูงอายุในการศึกษา
กระทรวงสาธารณสุข
ให้ความสะดวกและรวดเร็ว
กระทรวงแรงงาน
เรื่องการประกอบอาชีพหรือฝึกอาชีพ
กระทรวงการคลัง
การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
เรื่องส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยวและนันทนาการ
กระทรวงยุติธรรม
เรื่องการให้คำแนะนำและปรึกษาหรือเรื่องที่เกี่ยวข้องทางคดี
กระทรวงทรัพยากรและธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เรื่องการยกเว้นค่าเข้าชมในสถานที่ของรัฐ
กระทรวงคมนาคม
การลดหย่อนค่าโดยสาร
กระทรวงมหาดไทย
เรื่องการจ่ายเงินสงเคราะห์เพื่อการยังชีพ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
การมีส่วนร่วมในกิจกรรม
ปฎิญญาผู้สูงอายุ
ได้รับปัจจัยพื้นฐาน
ได้รับการคุ้มครองให้พ้นจากการถูกทอดทิ้ง
อย๘ู่กับครอบครัวโดยได้รับการเคารพ
ได้รับโอกาสด้านการศึกษาเรียนรู้
ได้ถ่ายทอดควาามรู้และประสบการณ์แก่สังคม
การได้เรียนรู้ในการดูแลอนามัยตัวเอง
การมีส่วนร่วมในสังคมและชุมชน
การตรากฎหมายเพื่อบังคับใช้ในการพิทักษ์สิทธิ
การปลูกฝังให้สังคมตระหนักถึงคุณค่าของผู้สูงอายุ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550
มาตรา 53 บุคคลอายุเกิน 60 ปีหรือรายได้ไม่เพียพอแก่การยังชีพมีสิทธิได้รับสวัสดิการ ตามความเหมาะสมจากรัฐ
มาตรา 80 รัฐต้องดำเนินการตามนโยบายด้านสังคมโดยสงเคราะห์และสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุ
มาตรา 84 จัดให้มีการออมเพื่อดำรงชีพในยามชรา