Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 1มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ, นางสาวญาณิศา พลศักดิ์ B01…
หน่วยที่ 1มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
ผลกระทบเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ
ครอบครัวปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ โดยให้การสนับสนุนช่วยเหลือตามวาระ หรือให้ความช่วยเหลือตามระดับการพึ่งพา
ต้องการคนคอยดูแลผู้สูงอายุในครอบครัว
ครอบครัวมีรายได้ลดลง
รายจ่ายเพิ่มมากขึ้น
สุขภาพของคนในครอบครัวได้รับผลกระทบ
อัตราการพึ่งพิงของประชากรโดยรวมเพิ่มขึ้น
ภาวะขาดแคลนแรงงานจะทำให้ค่าแรงมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น
ภาวะการออมและการลงทุนในประเทศที่ลดต่ำลง
รายจ่ายเกี่ยวกับสุขภาพและการรักษาพยาบาลมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น มีผลต่อการผลิตสินค้า
ฐานภาษีของประเทศมีฐานที่แคบลง
สังคมสูงอายุ หมายถึงอประเทศที่มีประชากรที่มีอายุมากกว่า 60 ปี ขึ้นไปคิดเป็นร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ
ลักษณะพีระมิดประชากรโลกเปลี่ยนจากรูปสามเหลี่ยมฐานกว้างยอดแคบเป็นรูปร่างคล้ายทรงกระบอกมากขึ้น
ปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขึ้นของผู้สูงอายุ
อัตราการเกิดลดลงและการลดลงของภาวะเจริญพันธ์
อัตราการตายที่ลดลง
ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการแพทย์ การสาธารณสุข
การสุขาภิบาลที่เจริญมากขึ้น
ประชากรมีความรู้ในการดูแลตนเองมากขึ้น
มีอายุยืนยาวมากขึ้น
ดัชนีการสูงอายุเพิ่มขึ้น ผู้สูงอายุมีมากกว่าประชากรวัยเด็ก
อายุมัธยฐานของประชากรไทยสูงขึ้นเรื่อยๆ
อัตราส่วนการเป็นภาระผู้สูงอายุ
หมายถึง จำนวนประชากรสูงอายุต่อประชากรวัยทำงาน 100 คน
ค่าอัตราส่วนการเป็นภาระยิ่งสูง แสดงว่ามีจำนวนผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพิงมาก
ค่าอัตราส่วนการเป็นภาระของผู้สูงอายุมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ขณะที่อัตราส่วนภาระรวมลดลง
ลักษณะผู้สูงอายุในประเทศไทย
เพศ ผู้สูงอายุเพศหญิงมากกว่าชาย
สถานภาพสมรส มีจำนวนคนโสด-หย่าหรือแยกเพิ่มขึ้น พ.ศ.2549 พบว่าผู้สูงอายุร้อยละ 5.9 มีสถานภาพเป็นโสด ร้อยละ 3.8 มีสถานภาพ หย่า หรือแยก
การศึกษา ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีการศึกษาค่อนข้างน้อย
สถานภาพและบทบาท ผู้สูงอายุมีสภานภาพและบทบาทลดลง เปลี่ยนจากผู้ให้เป็นผู้รับ ความรู้สึกมีคุณค่าของตนเองลดลง
สถานการณ์ด้านสุขภาพผู้สูงอายุ
จากสถิติ ปี2550 ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ มีสุขภาพที่ดี
เป้าหมายการพยาบาลผู้สูงอายุ
การคงความสามารถในการทำหน้าที่ของผู้สูงอายุให้มากและนานที่สุดและส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีความผาสุก
การสูงอายุ
การเสื่อมของโครงสร้างและหน้าที่ของร่างกายที่มีการเปลี่ยนแปลงขึ้นช้าๆและต่อเนื่องนับตั้งแต่ปฏิสนธิจนกระทั่งถึงแก่ชีวิต เกิดจากปัยจัยภายในโดยปรากฏออกมาในรูปแบบของความเสื่อมต่างๆและเกิดขึ้นกับทุกคน
ปัจจัยที่มีผลต่อการสูงอายุ
เชาว์ปัญญา
สภาพร่างกาย
ระดับสุขภาพจิต
กรรมพันธ์หรือยีน
ทัศนคติของแต่ละบุคคล
ความสามารถในการจัดการกับความเครียด
ความสามารถในการปรับตัวเข้าสู่วัยสูงอายุ
คำเรียกขานผู้สูงอายุ
ตามลักษณะทางกายภาพ : คนแก่ คนชรา คนเฒ่า
ตามอายุปีปฏิทิน : ผู้สูงอายุ
ตามสถานภาพทางสังคม : ผู้อาวุโส ผู้ใหญ่
ประเภทของผู้สูงอายุ
อายุ 80 ปีขึ้นไป คือวัยสูงอายุมาก
อายุ 70-79 ปี คือ วัยสูงอายุตอนกลาง
อายุ 60-69 ปี คือวัยสูงอายุตอนต้น
แนวคิดเกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
เจตคติที่ดีต่อความสูงอายุ
ยอมรับและเข้าใจว่าเป็นบุคคลที่มีคุณค่าและมีคุณประโยชน์ต่อสังคม
เคารพและยกย่องความดี ที่ผู้สูงอายุได้ปฏิบัติตลอดการดำเนินชีวิตที่ผ่านมา
ยอมรับและเข้าใจพัฒนาการในช่วงชีวิตของผู้สูงอายุพร้อมทั้งให้คำแนะนำหรือคำปรึกษาเมื่อผู้สูงงอายุประสบปัญหาที่เกิดขึ้น
จัดบริการสุขภาพด้านต่างๆให้ผู้สูงอายุ
เข้าใจและสนใจในความสูญเสียของผู้สูงอายุ
ระลึกอยู่เสมอว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ต้องการพึ่งพาตนเองให้มากที่สุด
ศึกษาหาความรู้อย่างต่อเนื่องให้มีความชำนาญในการดูแลผู้สูงอายุ
แบ่งกลุ่มผู้สูงอายุเป็น 3 กลุ่ม
ทำกิจกรรมได้ด้วยตนเอง
ทำกิจกรรมได้โดยมีผู้อื่นช่วย
ทำกิจกรรมเหล่านี้ไม่ได้
ลักษณะเฉพาะทางคลินิกของ
ผู้ป่วยสูงอายุ
การลดลงของกำลังสำรอง
อาการและอาการแสดงที่แปลก
มีหลากหลายโรค หลายปัญหา
การได้ยามากชนิด
ความไม่เอื้ออำนวยของสังคม
ผู้ดูแล
จัดการภารกิจต่างๆแทนผู้สูงอายุ ในขณะที่ผู้สูงอายุสามารถทำเองได้หรือไม่สามารถทำได้
ความทุกข์ยากของผู้ดูแล
ส่งผลกระทบต่อาชีพของผู้ดูแลวัยกลางคน ทำให้เกิดการขาดรายได้ ขณะดูแลผู้สูงอายุ
ผู้ดูแลมีโอกาสได้รับความทุกข์ทางจิตใจและประสบปัญหาทางด้านอารมณ์สูงโดยเฉพาะเพศหญิงวัยกลางคน
กระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและผู้ดูแล อาจเกิดผลกระทบต่อผู้สูงอายุถึงขั้นทารุณทางร่างกายและจิตใจแก่ผู้สูงอายุได้
บทบาทของครอบครัวในการดูแลผู้สูงอายุ
ดูแลเพื่อตอบสนองความต้องการด้านร่างกาย
ดูแลเพื่อตอบสนองความต้องการด้านอารมณ์และจิตใจ
ดูแลเพื่อตอบสนองความต้องการด้านสังคม
บทบาทของสังคม
ในการดูแลผู้สูงอายุ
ชุมชนเป็นหลักสนับสนุนและเป็นฐานรองรับการพึ่งตนเองของประชน
ให้การสนับสนุนด้านบุคลากรและทรัพยากรบางอย่าง สนับสนุนเงินบางส่วน งานวิชาการและพยาบาลเยี่ยมบ้านหรือหน่วยแพทย์เคลื่อนที่
ผู้นำชุมชนเอื้ออำนวยประโยชน์ให้เกิดกิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพทั้งด้าน ร่างกาย จิตใจ สังคม
สนับสนุนงบประมาณวันผู้สูงอายุแห่งชาติ
ชมรมผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่มีบทบาทในการดูแลสุขภาพอย่างยิ่งเพราะมีกิจกรรมต่างๆที่ช่วยผู้สูงอายุ เช่น การส่งเสริมสุขภาพ การตรวจสุขภาพเบื้องต้น
วัดเป็นเครือข่ายทางสังคมระดับชุมนที่สำคัญ ทำให้ผู้สูงอายุได้รับความสุขสงบทางใจจากหลักคำสอนทางศาสนา
นางสาวญาณิศา พลศักดิ์ B01 61106010005