Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนผังสรุปความรู้ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี, (การปฐมพยาบาลเมื่อร่…
แผนผังสรุปความรู้ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี
1 ความปลอดภัยในการทำงานกับสารเคมี
1.1ประเภทของสารเคมี
สารเคมีมีหลายประเภท แต่ละประเภทมีสมบัติต่างกัน สารเคมีจึงจำเป็นต้องมีฉลากที่มีข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นอันตรายของตัวมันเองเพื่อความปลอดภัยในการจัดเก็บ
โดยฉลากควรมีข้อมูลดังนี้
รูปสัญลักษณ์ แสดงความเป็นอัตรายของสารเคมี
คำเตือน ข้อมูลความเป็นอันตราย และข้อควรระวัง
ชื่อผลิตภัณฑ์
ข้อมูลของบริษัทผู้ผลิตสารเคมี
.2 ข้อควรขณะปฏิบัติการ
2 ห้ามรับประทานอาหารและเครื่องดื่มหรือทำกิจกรรมอื่นๆที่ไม่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการ
3 ไม่ทำการทดลองตามลำพัง
1 สวมแว่นตานิรภัย ติดกระดุมเสื้อคลุมทุกเม็ด สวมถุงมือเมื่อใช้สารกัดกร่อน
4 ไม่เล่นและไม่รบกวนผู้อื่นขณะทำการปฏิบัติการ
5 ทำตามขั้นตอนและวิธีการอย่างเคร่งครัด
6 ไม่ปล่อยให้อุปกรณ์ให้ความร้อนทำงานโดยไม่มีคนดูแล
3 ข้อปฏิบัติในการใช้สารเคมี
2.1 อ่านชื่อสารเคมีบนฉลากให้แน่ใจก่อนใช้
2.2 เคลื่อนย้าย แบ่ง ถ่ายเท สารเคมีด้วยความระมัดระวัง
2.3 หันปากหลอดทดลองออกจากตัวเองและผู้อื่นเสมอ
2.4 ห้ามชิมหรือสูดดมสารเคมีโดยตรง
2.5 การเจือจางกรด ให้เทกรดลงน้ำ
2.6 ไม่เทสารเคมีที่เหลือจากการเทหรือตักออกจากขวดลงขวดเดิมโดยเด็ดขาด
2.7 เมื่อสารเคมีหกเล็กน้อยให้กวาดหรือเช็ดแต่ถ้าหกมากให้แจ้งครูผู้สอน
หลังปฏิบัติการ
1) ทำความสะอาดอุปกรณ์รวมทั้งทำความสะอาดโต๊ะปฏิบัติการ
2) ถอดอุปกรณ์ป้องกันอัตรายก่อนออกจากห้อง
4 การกำจัดสารเคมี
1) สารเคมีที่ละลายน้ำได้และมี pH เป็นกลาง ปริมาณไม่เกิน 1 ลิตรสามารถเททิ้งลงอ่างน้ำได้
2) สารละลายเข้มข้นบางชนิดควรเจือจางก่อนเทลงอ่างน้ำ ถ้าปริมาณมากต้องทำให้เป็นกลางก่อน
3) สารที่เป็นของแข็งไม่อันตรายไม่เกิน 1 กิโลกรัม สามารถใส่ภาชนะปิดมิดติดฉลากให้ชัดเจนและทิ้งในที่ซึ่งเตรียมไว้ได้เลย
การปฐมพยาบาลเมื่อร่างกายสัมผัสสารเคมี
ถอดเสื้อผ้าที่เปื้อนสารเคมีออกและซับสารออกจากร่างกายให้มากที่สุด
กรณีที่สารเคมีละลายน้ำได้ให้ล้างออกโดยให้น้ำไหลผ่านมากๆ
กรณีที่สารเคมีไม่ละลายน้ำให้ล้างด้วยน้ำสบู่
หกทราบว่าสารที่โดนตัวคือสารอะไรให้ปฏิบัติตามข้อกำหนดในเอกสารความปลอดภัย