Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เลือด และส่วนประกอบของเลือด - Coggle Diagram
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เลือด และส่วนประกอบของเลือด
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย
ในส่วนปลายแขน และขา
โดยเฉพาะผู้ที่งดอาหาร และน้ำ
การให้ยาที่ผสมเจือจาง และเข้าหลอดเลือดดำช้าๆ
ทางหลอดเลือดดำใหญ่
ให้สารน้ำ หรือของเหลวทาง Central line
โดยเฉพาะผู้ที่ทานอาหารทางปากไม่ได้
หรือทานไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
ผ่านอุปกรณ์ที่ฝังไว้ใต้ผิวหนัง
ผู้ป่วยที่ต้องให้สารละลายเป็นระยะๆ
ในผู้ที่เป็นโรคเลือดเรื้อรัง ต้องรักษาด้วยเคมีบำบัด
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
ไอโซโทนิก
ไม่เคลื่อนที่เข้าหรือออกเซลล์
ความเข้มข้นเท่ากับน้ำ
ไฮโปโทนิก
เคลื่อนที่เข้าเซลล์
ความเข้มข้นน้อยกว่าน้ำ
ไฮเปอร์โทนิก
ดึงน้ำออกจากเซลล์
ความเข้นข้นมากกว่าน้ำ
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราการหยด
ระดับขวดสารน้ำสูงหรือต่ำเกินไป
ความหนืดของสารน้ำ
ขนาดของเข็มที่แทงเข้าหลอดเลือดดำ
เกลียวปรับบังคับหยดที่ลื่นมาก
สายให้น้ำ
การผูกติดบริเวณหลอดเลือด
การเคลื่อนย้าย และเคลื่อนไหวของร่างกาย
การปรับอัตราหยด
การคำนวณอัตราการหยด
สูตรใน 1 นาที
จำนวนหยดของสารละลาย (หยด/นาที) = จำนวนสารละลาย (มล./ชม.) *จำนวนหยด (มล.) / เวลา (นาที)
สูตรใน 1 ชั่วโมง
ปริมาตรของสารน้ำ ใน1ชม. = ปริมาตรสารน้ำที่จะให้ / เวลาที่จะให้ (ชม.)
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เลือกตำแหน่ง
เลือกข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัด
แทงหลอดเลือดดำส่วนปลายของแขนก่อน
ตรวจสอบบริเวณที่จะแทงว่ามีสภาพเหมาะสม
ต้องผูกยึดแขนและขา
หลีกเลี่ยงการแทงบริเวณข้อพับ
คำนึงถึงสารน้ำชนิดที่ให้
อุปกรณ์เครื่องใช้
ขวดสารน้ำ
ชุดให้สารน้ำ
เข็มที่ใช้เข้าหลอดเลือดดำส่วนปลาย
อื่นๆ เช่น ยางรัดแขน
อาการแทรกซ้อนขิงการให้สารน้ำ
เกิดขึ้นเฉพาะที่
การพยาบาล
หยุดให้สารน้ำ
ประคบด้วยความร้อนเปียก
เปลี่ยนที่แขงเข็ม
รายงานแพทย์
จัดให้แขนที่บวมสูงกว่าลำตัว
ส่งหนองไปเพาะเชื้อ
การบวม
เลือดซึมใต้ผิวหนัง
ติดเชื้อเฉพาะที่
หลอดเลือดดำอักเสบ
เกิดขึ้นในระบบไหลเวียนเลือด
การพยาบาล
หยุดให้สารน้ำ
เปลี่ยนขวดสารน้ำ
ช่วยตามอาการ
รายงานแพทย์
ดูแลออกซิเจน
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะ
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง
แพ้ยา/สารน้ำ
ติดเชื้อในกระแสเลือด
เกิดฟองอากาศในเลือด
ให้สารน้ำมาก หรือเร็วเกินไป
การใช้กระบวนการพยาบาลในการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ขั้น1
ประเมินสภาพผู้ป่วย
ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจ
สิ่งแวดล้อม
ขั้น2
วินิจฉัย
ขั้น3
วางแผน
ให้ยาออกฤทธิ์เร็ว
ให้ยามีผลระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อ
ให้ยาชนิดอื่นไม่สามารถรักษาได้มีผล
ขั้น4
วิธีฉีดยา
แบบที่1 IV plug กับ piggy back
แบบที่2 IV plug กับ syringe IV push
แบบที่3 Surg plug กับ piggy back
แบบที่4 Surg plug กับ syringe IV push
แบบที่5 three ways กับ piggy back
แบบที่ 6 trhee ways กับ syringe IV push
ขั้น5
ประเมินผล
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ขั้น1
ประเมินผู้ป่วย
ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจ
สิ่งแวดล้อม
แผนการรักษา
ขั้น2
ข้อวินิจฉัย
ขั้น3
วางแผน
ใช้ 6 Rights และ SIMPLE
ขั้น4
การให้สารน้ำ
ขั้น5
ประเมินผล
การให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
วัตถุประสงค์
ให้ผู้ป่วยที่ทานอาหารและน้ำทางปากไม่ได้
ทดแทนน้ำที่ร่างกายสูผญเสียไป
ข้อบ่งชี้
โรคทางเดินอาหาร
โรคของอวัยวะต่างๆ
ภาวะทางศัลยกรรม
ความผิดปกติของจิตใจ
โรคมะเร็งต่างๆ
ส่วนประกอบของสารอาหาร
คาร์โบไฮเดรต
สารละลายไขมัน
โปรตีนในรูปกรดอะมิโน
วิตามิน
เกลือแร่
น้ำ
ชนิด
Total parental nutrition (TPN)
ความเข้มข้นสูง
ให้ทาง Central vein จะไม่เกิดการอักเสบของหลอดเลือด
สารอาหารครบสมบูรณ์
Partial or peripheral parenteral nutrition (PPN)
สารอาหารไม่ครบตามตวามต้องการ
ดูแลไม่ให้ขาดสารอาหารมากเกินไป
ตำแหน่ง
ให้ทางหลอดเลือดดำแขนง
ให้ได้ทันที
มีข้อจำกัด คือ ไม่ให้กลูโคสมากกว่า 10% หลอดเลือดจะอุดตัน
ให้ทางหลอดเลือดดำใหญ่
สำหรับผู้ป่วยที่ได้รับสารอาหารเป็นเวลานาน
ต้องการพลังงานค่อนข้างสูง
อุปกรณ์
สายให้อาหารทางหลอดเลือดดำ
ชุดให้สารอาหาร
ขั้นตอนการให้
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
ล้างมือให้สะอาด สวมหน้ากากอนามัย
เตรียมอุปกรณ์ที่ปราศจากเชื้อ
ต่อสายยาง
ตรวจสอบ PPN
มีป้ายปิดที่ขวด ชื่อ และสกุล
นำสายยางและสารอาหาร ต่อกับผู้ป่วย
ให้สารอาหารหยดตามการรักษา
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารอาหาร
ในเนื้อเยื่อและผิวหนัง
บวม
ไม่สบายตัวบริเวณที่ให้
การพยาบาล
หยุดให้สารอาหาร
ดูแลอย่างใกล้ชิด
ในระบบไหลเวียนเลือด
ก้อนเลือด
อากาศ
การพยาบาล
ระวังเมื่อเปลี่ยนหลอดอาหาร
ห้ามนวดคลึง
ให้มากเกินไป
การพยาบาล
บันทึกสัญญาณชีพ
จัดท่าให้หายใจสะดวก
มีการคั่งของเลือดดำ
ปริมาณน้ำเข้าออกไม่สมดุล
สารแปลกปลอม
การพยาบาล
หยุดให้สารอาหาร
บันมึกสัญญาณชีพ และรายงานแพทย์
ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย
ไข้สูง 37.3-41 องศาเซลเซียส
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้สารอาหาร
ขั้น1
ประเมินสภาพ
ขั้น2
วินิจฉัย
ขั้น3
วางแผน
ขั้น4
การปฏิบัติ
สังเกตการเปลี่ยนแปลง
ถ้ารั่ว หาทางอุด ถ้าไม่ได้ควรรายงานแพทย์
มีป้ายปิดขวด ชื่อ-สกุล
เลี่ยงการฉีดยาทางหลอดเลือดดำ
ควรเปลี่ยนตำแหน่งทุก 3 วัน
ดูแลทางจิตใจ
ประเมินสัญญาณชีพ
ประเมินสภาพร่างกาย
ขั้น5
ประเมินผล
การให้เลือด และประกอบของเลือด
การให้และรับ
O
รับ O ให้ได้ทุกกรุ๊ป
A
รับ A และ O ให้ A และ AB
B
รับ O และ B ให้ B และ AB
AB
รับทุกกรุ๊ป ให้ AB
Rh-ve
รับ Rh-ve
อาการแทรกซ้อน
เม็ดเลือดแดงสลายตัว
เลือดไหลเวียนมากเกินไป
ภูมิแพ้
ถ่ายทอดโรค
อุดตันจากฟองอากาศ
สารซิเตรทเกินปกติ
โปตัสเซียมเกินปกติ
การใช้กระบวนการพยาบาลในการให้เลือด และส่วนประกอบของเลือด
ขั้น3
วางแผน
ขั้น4
การใช้เลือดและสารประกอบของเลือด
ตรวจสอบข้อมูล
ล้างมือ
ดึงที่ปิดถุงเลือด เช็ดให้สะอาด
ต่อสายต่างๆกับถุงเลือด
เตรียมผิวและแทงเข็ม
วางผ้าก๊อซปลอดเชื้อปิดที่เข็มแทง
แปะพลาสเตอร์ป้องกันการดึงรั้ง
เขียนวัน เวลาที่เริ่มให้
เก็บอุปกรณ์ ทำความสะอาด
บันทึกทางการพยาบาล
ขั้น2
วินิจฉัย
ขั้น5
ประเมินผล
ขั้น1
ประเมินสภาพ
ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจ
สิ่งแวดล้อม
แผนการรักษา
การบันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออกจากร่างกาย
หลักการบันทึก
ร่วมกับผู้ป่วยในการกำหนดจำนวนน้ำเข้าสู่ร่างกาย
จดบันทึกจำนวนน้ำ และของเหลวทุกชนิดที่ให้
อธิบายเหตุผล และความสำคัญของการวัดและบันทึก
สรุปบันทึกทุก 8 ชั่วโมง ทุกวัน
แขวนแบบฟอร์มที่เตียงผู้ป่วย
บันทึกจำนวนสารน้ำที่สูญเสียทางอื่นๆ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมความสมดุลของร่างกาย
ขั้น1
ประเมินสภาพ
ขั้น2
วินิจฉัย
ขั้น3
วางแผน
ขั้น4
การปฏิบัติ
จัดข้างที่บวมให้สูงกว่าลำตัว
เปลี่ยนบริเวณแทงเข็มใหม่
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ประเมินการขาดสารน้ำ และอิเล็คโตรไลท์
ประเมินอาการบวมที่หลังมือซ้าย
ลดภาวะเครียด
หยุดให้สารน้ำทันที
ขั้น5
ประเมินผล