Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ไข้จากการติดเชื้อที่พบบ่อยและปัญหาสุขภาพที่ผิวหนัง - Coggle Diagram
ไข้จากการติดเชื้อที่พบบ่อยและปัญหาสุขภาพที่ผิวหนัง
ซักประวัติ
Severity ไข้สูงมากเท่าไร ได้วัดไข้หรือไม่ ถ้าวัดอุณภูมิเท่าไร
Pattern อะไรทาให้ดีขึ้นหรืออะไรทาให้แย่ลง เช่น รบประทานยาลดไข้ paracetamol
Duration ระยะช่วงที่เป็นไข้อยู่นานเท่าไร กี่ชั่วโมง
Location -
Onset เป็นมากี่วัน ไข้เริ่มเมื่อไร หรือเริ่มเวลาไหน
Associated factors อาการอื่นๆที่เกิดร่วม เช่น หนาวสั่น ปวดกล้ามเนื้อ
Characteristic ลักษณะสูงลอย หรือ เป็นพักๆ ตลอดเวลา เป็นๆหายๆ
ลักษณะของไข้
ไข้สูงลอย หมายถึง อุณหภูมิสูงผิดปกติตลอด 24 ชั่วโมงโดยอุณหภูมิสูงสุดและอุณหภูมิต่่ำสุดในแต่ละวันแตกต่างกันไม่เกิน 1 องศาเซลเซียส
ไข้สูงลอยแบบขึ้นลง หมายถึง อุณหภูมิสูงกว่าปกติ โดยอุณหภูมิสูงสุดและอุณหภูมิต่่าสุดในแต่ละวันแตกต่างกันมากกว่า 1 องศาเซลเซียส มักมีหนาวสั่นร่วมด้วย ขณะมีไข้สูงและเหงื่อออกเมื่อไข้ลดลง
ไข้สูงเป็นครั้งคราว หมายถึง คุณหภูมิที่สูงกว่าปกติสลับกันกับช่วงที่อุณหภูมิปกติเป็นระยะๆอาจเป็นวันหรือสัปดาห์
การวินิจแยกโรค
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC
UA
Malaria thin film and thick film
Hepatitis profile
Leptospira antibody
Scrub typhus antibody
Dengue NS1Ag and IgM/IgG
Chest X-Ray
การตรวจร่างกายตามระบบ
การตรวจร่างกายโดยตรวจ head to toe
สัญญาณชีพ
ประวัติของอาการไข้
รูปแบบ
ไข้เรื้อรัง
นานเกิน 4 สัปดาห์
ไข้เฉียบพลัน
เกิดจากการติดเชื้อเฉพาะแห่ง
การติดเชื้อเฉพาะแห่ง
มีไข้ร่วมกับอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อที่อวัยวะใดอวัยวะหนึ่ง หรือระบบใดระบบหนึ่ง
การติดเชื้อที่มีอาการหลายระบบ
มักมีอาการอื่นร่วมกับภาวะไข้ เช่น หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัวร่วมกับอาการผิดปกติของระบบร่วมกัน
อาการร่วมของไข้
การสัมผัสโรค เช่น สัมผัสผู้มีผู้ป่วยวัณโรคระยะแพร่กระจายเชื้อ
สาเหตุของไข้
โรคอื่นๆ ออโต้อิมมูนและภูมิไวเกิน โรคมะเร็ง
โรคติดเชื้อ (infectious disease)
โรคติดเชื้อที่พบบ่อย
มาลาเรีย (Malaria)
เกิดจากเชื้อโปรโตซัว มียุงก้นปล่องเป็นพาหะนาโรค มีอาการหลังจากถูกยุงกัด 10 ถึง 14 วัน
3 ระยะ
ระยะที่ 2 ระยะร้อน ไข้สูงมาก ประมาณ 40 องศาเซลเซียส ปวดศีรษะ ปวดกระบอกตา
ระยะที่ 3 ระยะพัก ระยะไข้จะลดลงเป็นปกติ
ระยะที่ 1 ระยะหนาวสั่น มีไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ ผิวหนังซีด มีคลื่นไส้อาเจียน เบื่อ
อาหาร
ซักประวัติการเข้าป่า การอาศัยอยู่ชายแดน แหล่งที่มีการระบาดของโรค ลักษณะของไข้อาการหนาวสั่น ปัสสาวะสีเข้มสีดาเหมือนโค้ก
การรักษา
ยา Quinine และ Mefloquine ใช้สาหรับการติดเชื้อชนิด PF
Chloroquine และ Primaquine ใช้รักษาเชื้อชนิด PV
ให้การรักษาตามอาการอื่นๆตามอาการ
โรคสครับไทฟัส (Scrub typhus)
เกิดจากเชื้อ rickettsia นำโดยแมลงนำโรคตัวอ่อนของไร
ระยะฟักตัวของโรคประมาณ 10-12 วันและอาจนานได้ถึง 21 วัน อาการคือ มีไข้เฉียบพลันโดยไม่ทราบสาเหตุ
แผลที่ถูกไรอ่อนกัด มีลักษณะเป็นตุ่มแดง มีสีดำตรงกลางคล้ายรอยบุหรี่จี้ (Eschar)
การรักษา ให้ยาตามอาการ
โรคฉี่หนู (Leptospirosis)
ติดเชื้อแบคทีเรียชื่อว่า Leptospira
เชื้อมีระยะฟักตัว 2 ถึง 30 วัน ส่วนใหญ่จะมีอาการภายหลังได้รับเชื้อ 4 ถึง 19 วัน เชื้ออยู่ในสัตว์ เช่น หนู สุนัข หมู แมว วัว แพะ แกะ และเชื้อถูกขับออกมาทางปัสสาวะ
มีอาการ ไข้สูง 39-40 C หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดกล้ามเนื้อคล้ายไข้หวัดใหญ่ ปวดมาบริวณน่อง หลังและท้อง ปวดใต้ชายโครงขวา อาจมีท้องเดิน คลื่นไส้อาเจียน และตัวเหลืองตาเหลือง ตรวจร่างกายอาจพบตาบวมแดง ตับม้ามอาจโต
การรักษา ให้ยาตามอาการ
โรคไข้เลือดออกไข้เด็งกี่ (Dengue Fever, DF
ติดเชื้อเกิดจากยุงลายเป็นพาหะนาโรค
มีไข้ เฉียบพลัน ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ และมีผื่น
3 ระยะ
ระยะฟื้นตัว เป็นระยะที่สารน้าที่รั่วออกจากหลอดเลือดไหลกลับคืน เกิดภาวะแทรกซ้อนคือ ภาวะน้าเกินในร่างกายได้ อาการผู้ป่วยจะดีขึ้นอย่างมาก และอาจมีคันตามผิวหนัง
ระยะวิกฤต ช่วงนี้ไข้ลดลง อาจใช้เวลา 1-2วัน พยาธิสภาพของโรคมีจะน้ารั่วออกจากผนังหลอดเลือดและมีเลือดออกได้
ระยะไข้ มักมีไข้สูงอาจสูงเกิน 40 องศาเซลเซียส ปวดตามตัว และปวดศีรษะ
มักพบผล ตรวจ Tonique Test: Positive
ตรวจเลือด CBC พบการติดเชื้อไวรัส WBC ต่า, Hct สูง และ Platelets ต่่า ตรวจหา NS1 โปรตีนที่สร้างโดยไวรัส มักตรวจพบในช่วงมีไข้
รักษาตามอาการ
ปัญหาสุขภาพผิวหนัง
ซักประวัติ
Duration มีอาการมานานเท่าไร เป็นตลอดหรือเป็น ๆ หาย ๆ
Severity ความรุนแรงของอาการ โดยเฉพาะ คัน และปวด
Location ตำแหน่งที่เป็นครั้งแรก หรือบริเวณที่เป็น เช่น ใบหน้า แขน ขา ลำตัว เป็นต้น และมีลุกลามหรือกระจายไปที่อื่นหรือไม่
Pattern การเปลี่ยนแปลงของผื่นและการดำเนินของโรค อะไรทำให้ดีขึ้นหรือปัจจัยอะไรทำให้แย่ลง
Onset เกิดขี้นตอนไหนหรือช่วงเวลาไหน
Associated factors อาการอื่น ๆ ที่เกิดร่วมด้วย เช่น อาการคัน ปวด ชา แสบร้อน สีผิวเปลี่ยน
Characteristic ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรบ้าง ตำแหน่งที่เริ่มเป็นคือบริเวณใด
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติครอบครัว
การตรวจร่างกาย
การดู
ลักษณะสีผิว
ลักษณะรอยโรค
รอยโรคทุติยภูมิ
รอยโรคพื้นผิวขรุขระ (Surface changed lesion)
รอยโรคยุบตัว (Depressed lesion)
รอยโรคนูน (Raised lesion)
รอยโรคที่มีลักษณะพิเศษ
การเรียงตัวของรอยโรค
รอยโรคที่ผิวหนังถ้ามีเพียงรอยโรคเดียว
รอยโรคที่รวมเป็นกลุ่ม ๆ (cluster/group)
รอยโรคที่เรียงตัวเป็นแนวยาวกับ Epidermal nerve
รอยโรคเรียงตัวเป็นรูปโค้ง
รอยโรคที่เรียงตัวตามการกระจายของเส้นประสาท อาจจะพิจารณาถึงโรคงูสวัด
รอยโรคเป็นวงซ้อน ๆ กันอยู่ อาจนึกถึงการติดเชื้อรา
การกระจายตัวของรอยโรค
รอยโรคปฐมภูมิ
รอยโรคแบนราบ (Flat lesion)
รอยโรคนูน (Raised lesion)
รอยโรคตุ่มน้ำ (Fluid-filled lesion)
การคลำ สามารถใช้มือสัมผัส
ความตึงตัวของผิวหนัง (Turgor)
อุณหภูมิ (Temperature)
คลำพิจารณาความหยาบ ความ
ละเอียดของผิวหนัง (Texture)
ความชุ่มชื้น (Moisture)
Edema
ลักษณะของรอยโรค
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Patch test เป็นการทดสอบสาเหตุของการเกิด Contact dermatitis
Potassium hydroxide (KOH) examination เป็นการตรวจรอยโรคที่มีขุย
(Scale) เพื่อวินิจฉัย แยกการติดเชื้อรา
Tzanck test เป็นการตรวจสอบโรคที่เป็น vesicle และสารคัดหลั่ง (Discharge)เพื่อวินิจฉัยแยกการติดเชื้อไวรัส (viral infection) จากเชื้อ Herpes
Wood’s lamp examination เป็นการฉายหลอดแสงอัลตร้าไวโอเลต เพื่อช่วยในการวินิจฉัยแยกโรค
Biopsy เป็นการตัดชิ้นสวนของผิวหนังที่สงสัยว่าเป็นโรคแล้วส่งชันสูตรทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจพิเศษ
Dermatographism
Darier’s sign
Auspitz sign ใชทดสอบรอบโรคกลุ่ม papulosquamous ผื่นหรือตุ่มแดงที่มีขุย
Nikolsky’s sign
Paring
โรคผิวหนังที่พบบ่อย
อักเสบติดเชื้อแบคทีเรีย
ผิวหนังอักเสบ (Eczema/ Dermatitis)
ผิวหนังอักเสบจากภูมิแพ้ (Atopic dermatitis)
ผิวหนังอักเสบจากการสัมผัส (Contact dermatitis)
ผิวหนังอักเสบจากการสัมผัสเนื่องจากการระคายเคือง (irritant contact dermatitis)
ผิวหนังอักเสบจากการสัมผัสเนื่องจากการแพ้ (allergic contact dermatitis)
ไข้อีดำอีแดง (Scarlet fever)
ฝี (Abscess/boils/furuncles)
เนื้อเยื่อใต้ผิวหนังชั้นลึกอักเสบ (Cellulitis)
ผื่นลมพิษ Urticaria
โรคผิวหนังจากเชื้อรา
กลาก (Ring worm / Tinea)
เกลื้อน (Tinea versicolor / Pityriasis versicolor)
โรคผิวหนังอักเสบจากเชื้อไวรัส
เริม (Herpes simplex)
งูสวัด (Herpes zoster/ Shingles)
หัด (Measles/Rubeola)
หัดเยอรมัน (German measles / Rubella)
ผื่นกุหลาบ (Roseola Infantum)
โรคมือ เท้าปาก (Hand Foot Mouth)
ไข้สุกใส (Chicken pox / Varicella)
โรคผิวหนังอื่นๆ
โรคหิด (Scabies)
โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis)