Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการ และความสําคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการ
และความสําคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ประวัติความเป็นมาของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
การเปลี่ยนแปลงของโลกและสังคมในยุคศตวรรษที่ 21 หรือยุคโลกาภิวัตน์ ทําให้เกิด สังคมที่มีความหลากหลายมากขึ้นจากปัจจัยหลายประการ
การปฏิบัติการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมเป็นแนวคิดทางการพยาบาลที่มุ่งเน้นให้เกิดความเชื่อมโยง ระหว่างการพยาบาลและวัฒนธรรมที่แตกต่างกันของผู้รับบริการ
อาศัยการศึกษาเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
การศึกษาข้ามวัฒนธรรม ( Cross cultural study)
การศึกษาวัฒนธรรมข้ามชาติ (Inter - cultural study)
การดูแลประชาชนใน สังคมที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมจึงมีความสําคัญและเป็นความท้าทายของพยาบาลในปัจจุบันและ อนาคต
ความเข้าใจถึงบริบทของสังคมในภูมิภาคต่างๆ ที่แตกต่างกันทางด้านวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม
วัตถุประสงค์ของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
วัตถุประสงค์ของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
เพื่อให้เกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่างซึ่งกันและกัน
เป็นการค้นหาคําตอบเกี่ยวกับวัฒนธรรมของประเทศต่างๆ
ตามหลักวิชาการ
เพื่อให้เกิดความร่วมมือและช่วยเหลือกันและกันในด้านบริการสุขภาพ
สังคมในยุคศตวรรษที่ 21 ทําให้เกิดสังคม
ที่มีความหลากหลายมาขึ้น
มีการเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสาร
และการสื่อสารเทคโนโลยีแบบไร้พรมแดน
มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านประชากรเกิดขึ้นในส่วนต่างๆ ของโลก
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรร
จึงความสําคัญต่อระบบบริการสุขภาพ
การรณรงค์เกี่ยวกับเพศสภาวะและการเปลี่ยนแปลงบทบาทชายและหญิงมีการเคลื่อนไหวเพื่อ เรียกร้องความเท่าเทียมกันในการดํารงตําแหน่งในสังคมของชายหญิงเพิ่มขึ้น
การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารโทรคมนาคมและประชาชนสามารถ รับข้อมูลข่าวสารที่ทันต่อเหตุการณ์และทันสมัย ส่งผลต่อระบบการบริการต้องมีการ ปรับเปลี่ยนและ
ติดตามความรู้ใหม่ๆให้เหมาะสมและทันกับเหตุการณ์
การยอมรับนับถือการมีคุณค่าศักดิ์ศรีของชีวิตมนุษย์ความเชื่อวิถีชีวิตตามวัฒนธรรมของบุคคลและ สิทธิมนุษยชนเพิ่มมากขึ้น
การเปลี่ยนฐานความคิดในการดูแลจากการใช้ชุมชนเป็นฐานโดยเฉพาะการปฏิรูประบบ เพื่อให้เกิดภาพการบริการที่ตรงตามสภาพ ปัญหาที่เกิดจากปัจจัยทางสังคมวัฒนธรรม
ประชากรทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยมีการเคลื่อนย้ายถิ่นฐานไปในพื้นที่ต่างๆเพิ่มขึ้นประชาชน สามารถเข้าถึงสถานบริการในทุกระดับได้ดี
จึงส่งผลให้สถานบริการต้องเร่งจัดระบบการให้บริการ เพื่อรองรับประชาชนที่มีความหลากหลายและมีวิถีชีวิตที่แตกต่างกันตามสภาพพื้นที่
แนวคิดและหลักการของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมเป็นการนําแนวคิด
การพยาบาลแบบองค์รวม (holistic nursing)
มาผสมผสานกับแนวคิดมานุษยวิทยา (anthropology)
กรอบแนวคิดทางการ พยาบาล 4 มโนมติ
ด้านบุคคล ซึ่งแต่ละคนย่อมมีแบบแผนการดําเนินชีวิต
และพฤติกรรมสุขภาพแตกต่างกัน
ด้านสุขภาพ เป็นสภาวะการผสมผสานการตอบสนองความเจ็บป่วยตามมาตรฐานการพยาบาล ควบคู่กับการให้คุณค่าทางวัฒนธรรม
ด้านสิ่งแวดล้อมได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ สิ่งแวดล้อมทางสังคม และสิ่งแวดล้อมที่เป็น สัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม
การพยาบาลโดยมุ่งให้ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมเป็นแนวคิดสําคัญที่สามารถนํามาใช้พัฒนาทักษะด้านความเข้าใจความ ต่างทางวัฒนธรรม
แนวคิดอื่นที่มาเกี่ยวข้องกับการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
แนวคิดของมนุษนิยม (Humanism)
แนวคิดหลังโครงสร้างนิยม (Poststructuralist perspective)
หลักการทั่วไปของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
การดูแลคือพฤติกรรมการช่วยเหลือสนับสนุนเพิ่มความสามารถเกิดการพัฒนาเกี่ยวข้องกับ สถานการณ์ของชีวิต แตกต่างกันในแต่ละวัฒนธรรม
การดูแลทางด้านวัฒนธรรม คือ คุณค่าความช่วยเหลือ ประคับประคอง เพิ่มความสามารถ ปรับปรุง สภาพการณ์ส่วนบุคคล การเผชิญความตาย ความรู้ทางด้านวัฒนธรรมจะช่วยในการดูแลของ พยาบาล
วัฒนธรรม คือ การให้คุณค่า ความเชื่อ และการปฏิบัติในชีวิตประจําวันของกลุ่มชน เรียนรู้สืบต่อ กัน เกิดพื้นฐานและวัฒนธรรมเฉพาะกลุ่ม
เป็นลักษณะเฉพาะ
การมองโลกคือการมองของบุคคลโดยมองที่โครงสร้างของสังคมเช่นศาสนาเศรษฐกิจและ การศึกษา
ซึ่งให้ความหมายและระเบียบวัฒนธรรมแก่กลุ่มชน
การจัดกิจกรรมการพยาบาล
การสงวนการดูแลด้านวัฒนธรรม
การจัดหาการดูแลด้านวัฒนธรรม
การวางรูปแบบการดูแลด้านวัฒนธรรม
ระบบสุขภาพและความผาสุกของบุคคล คือ
การดูแลเชิงวิชาชีพที่ให้ความสําคัญกับวัฒนธรรม
ความหลากหลายของการดูแลทางวัฒนธรรม
การดูแลผู้ป่วยหรือ ผู้รับบริการที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมนั้นผู้ดูแลจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจและความสามารถ
มีความไวเชิงวัฒนธรรม(cultural sensitivity) รู้จักสังเกต ค้นหา ค่านิยม ความเชื่อ วิถีการดาเนิน ชีวิตตลอดจนพฤติกรรมการปฏิบัติตนเมื่อเจ็บป่วยซึ่งสะท้อนแนวคิดด้านวัฒนธรรมของแต่ละบุคคล
สามารถสื่อสารกับผู้ใช้บริการที่ไม่ใช้ภาษาไทยได้ มีทักษะในการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการที่มี ความแตกต่างด้านเชื้อชาติ วัฒนธรรม
มีทัศนคติด้านบวกกับการให้บริการแก่ผู้ใช้บริการที่มีความแตกต่างด้านวัฒนธรรม
มีบุคลิกภาพ ท่าทางเป็นมิตร เข้าใจในวัฒนธรรมการสื่อสารของผู้ใช้บริการที่มีความแตกต่างด้าน เชื้อชาติ วัฒนธรรม
สามารถค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาร่วมกับผู้ใช้บริการได้เหมาะสม และสอดคล้องตามวัฒนธรรม
พิทักษสิทธิ์ผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสมตามความแตกต่างด้านวัฒนธรรมได้
ความเข้าใจ ตื่นตัว ใฝ่รู้ เกี่ยวกับ ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมความเชื่อ เชื้อชาติ เพศ และพฤติกรรมต่างๆ ของผู้ใช้บริการที่มีความแตกต่างทางวัฒนธรรม
บูรณาการความรู้ทางการพยาบาลมาใช้กับผู้ใช้บริการที่มีความหลากหลายด้านวัฒนธรรมได้
การดูแลผู้ป่วยหรือ ผู้รับบริการที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมนั้นผู้ดูแลจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจและความสามารถ
ประเมินความเข้าใจในสารที่ส่งกับผู้ใช้บริการได้
การดูแลทางวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายแตกต่างกันจะยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
พิจารณาถึงวิถี ชีวิต ความเชื่อ ความเข้าใจภาษา ตลอดจนความแตกต่างในมิติทางขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมของ ผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชนร่วมด้วย
ความหลากหลายทางวัฒนธรรมทําให้พยาบาลต้องมีความไวทาง วัฒนธรรม
องค์กรที่มีความไวทางวัฒนธรรมจะมีการดําเนินการจัดหาล่ามสําหรับการสื่อสารไว้อย่าง เป็นระบ