Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 แนวคิดและหลักการรักษาพยาบาลเบื้องต้น (นายธนภัทร คบหมู่ 603101031)…
บทที่ 1 แนวคิดและหลักการรักษาพยาบาลเบื้องต้น
(นายธนภัทร คบหมู่ 603101031)
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้นหนึ่ง
1.1 ทำแผล การตกแต่งบาดแผล การเย็บแผล
การตัดไหม การผ่าฝีในตำแหน่งที่ไม่เป็นอันตรายต่ออวัยวะสำคัญ การถอดเล็บ การจี้หูดหรือจี้ตาปลา
1.2 การผ่าเอาสิ่งแปลกปลอมที่อยู่ในตำแหน่งที่ไม่อันตราย
โดยการฉีดยาระงับความรู้สึกทางผิวหนัง
1.3 การล้างตา
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้นหนึ่งที่ผ่านการอบรม
2.1 การใส่และถอดห่วง
2.2 การฝังยาและถอดยาคุมกำเนิด
2.3 การผ่าตัดตาปลา
2.4 การเลาะก้อนใต้ผิวหนังบริเวณที่ไม่อันตราย
การจำแนกผู้รับบริการ/ผู้ป่วย
3.1 กลุ่มอาการฉุกเฉินที่ต้องช่วยเหลือเบื้องต้น
และส่งต่อทันที
3.2 กลุ่มอาการที่ต้องได้รับการวินิจฉัยเพิ่มเติม : ซึ่งต้องปรึกษาแพทย์ในเวลาที่กำหนด คือ 1-7 วัน
3.3 กลุ่มอาการที่ต้องวินิจฉัยแยกโรค
และให้การรักษาโรคเบื้องต้น
บทบาทพยาบาลเวชปฏิบัติในการใช้ยารักษาโรคเบื้องต้น
4.1 ยาที่กำหนดสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลชั้นหนึ่ง
4.1.19 ยาเพิ่มเติมตามคำสั่งรักษาแพทย์
ยาลดความดันโลหิต
ยาเบาหวาน
ยารักษาโรคหอบหืด/โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เป็นต้น
4.1.1 ยาแก้ปวด ลดไข้และยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่เสตียรอยด์
4.1.2 ยาแก้แพ้
4.1.3 ยาแก้อาการแพ้เฉียบพลัน
4.1.4 ยาออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ
4.1.5 ยาระบบทางเดินอาหาร
4.1.6 วิตามิน และเกลือแร่
4.1.7 ยาบำรุงโลหิต
4.1.8 ยาถ่ายพยาธิ
4.1.9 ยาปฏิชีวนะ
4.1.10 ยาทาภายนอก
4.1.11 ยาสำหรับตา
4.1.12 ยาชาเฉพาะที่
4.1.13 ยาฆ่าเชื้อโรค
4.1.14 กลูโคสและสารน้ำ
4.1.15 ยาคุมกำเนิด
4.1.16 ยารักษาอาการติดเชื้อไวรัส
4.1.17 สารวินิจฉัย
4.1.18 กลุ่มยาที่ใช้ในกรณีให้ยาเพิ่มเติมแกผู้ป่วยโรคเรื้อรังต่างๆ
(refill) ยาปฏิชีวนะตอตานเชื้อราและยีสต
4.1.19 วัคซีน
4.2 ลักษณะของยาที่ใช้กับอวัยวะภายในร่างกายในร่างกาย
4.2.1 ยาน้ำชนิดต่างๆ เช่น syrup, Elixir, Suspension เป็นต้น
4.2.2 ยาเม็ด (tablet)
4.2.3 แคปซูล (capsule)
4.2.4 ยาฉีด (injection)
4.3 การออกฤทธิ์ของยาโดยทั่วไป
4.3.1 การออกฤทธิ์เฉพาะที่ โดยวิธีการรับประทาน
4.3.2 การอกฤทธิ์ทั่วไป เช่น ทางปาก, การฉีด, การสูดดม, การหยอด, การป้ายทา และการเหน็บ