Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 9 การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองและการดูแลระยะสุดท้าย,…
หน่วยที่ 9
การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองและการดูแลระยะสุดท้าย
เป้าหมายของการดูแลแบบประคับประคอง
ส่งเสริมให้บุคคลได้รับการดูแลตลอดการตายที่เรียกว่า ตายดี
ผู้ป่วยและครอบครัวยอมรับและเข้าใจพร้อมปรับตัวเข้ากับความเจ็บป่วยได้
บรรเมาความทุกข์ทรมานจากอาการรบกวน
มีคุณภาพชีวิตที่ดี
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มผู้ป่วยมะเร็งทุกชนิด
กลุ่มผู้ป่วยที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดและมีอาการเพิ่มมากขึ้น
COPD stage 4 , CKD stage 5 , STROKE ที่รักษา 6 เดือนแล้ว , HF
กลุ่มผู้ป่วยระยะสุดท้าย
การประเมินผู้ป่วยในการดูแลแบบประคับประคอง
การประเมิน PPS (Palliative Performance Scale)
การประเมินอาการรบกวน
การประเมินอาการปวด
การประเมิน 2Q
การบอกข่าวร้ายกับผู้ป่วย
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมตัวเจรจา
ขั้นตอนที่ 2 สำรวจว่ารู้แค่ไหน
เป็นเรื่องการเตรียมตัวและประเมินผู้ป่วยก่อนบอกข่าวร้าย
ขั้นตอนที่ 3 ประเมินใจอยากรู้แน่
ขั้นตอนที่ 4 เผยแพร่ข้อมูลให้ตรงจริง
คือการบอกผล
ขั้นตอนที่ 5 ไม่ทอดทิ้งนิ่งดูดาย
ขั้นตอนที่ 6 นัดหมายไว้ภายหน้า
เป็นการตอบสนองต่อปฏิกิริยาที่เกิดกับผู้ป่วยและญาติรวมถึงการดำเนินการในครั้งต่อไป
รูปแบบปฏิกิริยาของผู้ป่วยและครอบครัว
จากทฤษฏีของ Kubler-Ross
1.Denial (Shock) คือการตกใจ ปฏิเสธความจริง
2.Anger คือความโกรธ เช่น โกรธที่กำลังจะตาย โกรธทีมผู้รักษา
3.Bargaining เป็นความรู้สึกที่อยากต่อรองกับความตาย
DABDA
4.Depression อาการซึมเศร้า หมดแรง มองโลกในแง่ลบ
5.Acceptance ยอมรับความจริง พร้อมใจที่จะเผชิญ
พยาธิสภาพของการเกิดอาการในผู้ป่วยมะเร็ง
มะเร็งระยะลุกลาม
ภาวะแทรกซ้อนจากมะเร็ง
ผลข้างเคียงจากการรักษา
อาการทางกาย
ความทุกข์ใจ
วิกฤติทางจิตวิญญาณ
คุณภาพชีวิตลดลงและกระทบต่อครอบครัว
อาการทางกาย
อ่อนเพลีย ปวดศรีษะ หายใจลำบาก เบื่ออาหาร
น้ำหนักลด เพ้อ
ปัจจัยก่อตวามเครียด
ถูกบอกข่าวร้าย
เป็นห่วงภาพลักษณ์
ช่วเหลือตนเองไม่ได้
การประเมินด้านร่างกาย
อ่อนแรงเหนื่อยล้า
เป็นแผล ผื่นคัน
คลื่นไส้อาเจียน
ผอมแห้ง ปากแห้ง
อาการปวด
ผู้ป่วยบางคนปวดมากกว่า 1 ตำแหน่ง
ประเมินแต่ละแห่ง แยกกัน
วางแผนการดูแลร่วมกับผู้ปวดและญาติ
ภาวะวิกฤติทางจิตวิญญาณ
Spiritual suffering
เกิดเมื่อบุคคลไม่สามารถหาหลักพึ่งพิงได้
Spiritual assessment
Informal assessment
ประเมินได้ทุกเมื่อ เมื่อโอกาสอำนวย
คนไข้มักแสดงออกโดยการเล่าเรื่อง
คนไข้ทำให้เราเข้าใจได้ถึงความเข้มแข็งของจิตวิญญาณ
Formal assessment
ประเมินโดยใช้ข้อคำถามร่วมไปกับการประเมินด้านอื่นในระบบ Routine
ประเมินว่าสิ่งนั้นจะมีบทบาทในการเยียวยาผู้ป่วยหรือไม่
The HOPE Question
H : Source of hope , meaning , love , comfort
O : Organized religion
P : Personal spirituality and practices
E : Effects on medical care and end-of-life issues
การดูแลจิตวิญญาณ
มองให้เห็นและตอบสนอง
มีความกรุณา
อยู่กับปัจจุบัน
ฟังอย่างตั้งใจ
สนับสนุนความหวัง
ปัจจัยความสำเร็จของ
การดูแลด้านจิตวิญญาณ
ความเข้าใจจิตวิญญาณของตนเองของผู้ประเมิน
เข้าใจอย่าลึกซึ้งในความเชื่อด้านจิตวิญญาณ
ต้องไม่ตัดสิน อยู่บนฐานของการมีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
สัมพันธ์ภาพระหว่างผู้ให้การรักษากับผู้ป่วย
ความไว้วางใจทำให้เปิดใจพูดคุย
เวลาและวิธีการที่เหมาะสม
วางตัวเป็นธรรมชาติ
สรีระวิทยาในระยะเผชิญความตาย
ความอ่อนเพลีย
ไม่จำเป็นต้องรักษาเพราะเกิดผลเสียมากกว่าผลดี
ความเบื่ออาหาร
ความเบื่ออาหารเป็นผลดีมากกว่าผลเสีย
ดื่มน้ำน้อยลง
ภาวะขาดน้ำกระตุ้นให้มีการหลั่งสารเอนดอร์ฟินทำให้สบาย
ระบบไหวเวียนเลือดเปลี่ยนแปลง
ช็อก ชีพจรเต้นไว
หายใจลำบาก หายใจเสียงดัง
การเปลี่ยนแปลงทางประสาท
Usual road : รู้สึกง่วง หลับตลอดเวลา
Difficult road : กระวนกระวาย เพ้อเจ้อ ชัก กระตุก
ตายดี 3 มิติ
ตายดีเชิงจิตใจ
ตายดีเชิงกายภาพ
ตายดีเชิงสัมพันธภาพ
การตายดีที่พึงประสงค์
รู้ตัวมีสติรับรู้
ไม่เจ็บปวด ไม่ทรมาน
ได้รับการดูแลด้านจิตใจ
มีความเป็นส่วนตัว
มีคนรักอยู่ใกล้ตัว
ไม่ยื้อชีวิต พร้อมไปเมื่อเวลามาถึง
Living will
กฎหมายพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งปี 2550
พินัยกรรมชีวิต
การแสดงออกของ Spiritual ใน 3 มิติ
การรับรู้ Cognitive aspects
รับรู้ความหมาย ความเชื่อ คุณค่าของการมีชีวิต
ประสบการณ์และอารมณ์ Experiential & Emotional aspects
ความรู้สึกนึกคิด ความหวัง ความสงบ ความสามารถในการให้และรับความรัก
พฤติกรรมแสดงออก Behavior aspects
การแสดงออกภายนอกที่มองเห็นได้