Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3.2 การประเมินการตรวจร่างกาย การตรวจทรวงอกและปอด 2016-respiratory…
บทที่ 3.2 การประเมินการตรวจร่างกาย การตรวจทรวงอกและปอด
:star: การตรวจทรวงอกและปอด (Thorax and lung) การตรวจทรวงอกและปอดเป็นการประเมิน การทำหน้าที่ของ อวัยวะที่เกี่ยวกับการได้รับอากาศ ผู้ตรวจต้องทราบ :check: chest landmark :check:anatomical landmark :check: Surface anatomy ของปอดจึงจะสามารถตรวจได้อย่างถูกต้อง
:star: การตรวจหัวใจ (Heart) เป็นการประเมินการไหลเวียนที่ใช้เทคนิคทั้งการดู การเคาะ การคลําและ การฟัง การตรวจหัวใจต้องคํานึงถึง anatomical landmark, chest landmark heart landmark
-
-
-
:star: การตรวจทรวงอกและปอด ตรวจในท่านั่ง หากผู้รับบริการอาการหนักจะตรวจในท่านอน ตรวจด้านหลังและด้านหน้า ควรถอดเสื้อออกจนถึงระดับเอว ผู้รับบริการหญิงให้เปิดผ้าเฉพาะส่วนที่ตรวจและปิดคลุมส่วนหน้าอก เทคนิคในการตรวจทรวงอกและปอด ด้วยการดู คลํา เคาะ และฟัง
-
:<3: 4. การฟัง การฟังปอดนิยมใช้ หูฟังส่วน chest piece ทางด้านแผ่น ต้องจับหูฟังให้นิ่งและห้องที่ ตรวจควรเงียบ ให้ผู้รับบริการหายใจทางปากแรงกว่าปกติเล็กน้อย
4.2 การฟังเสียงพูด (voice sound) เสียงพูดที่เปล่งออกมาจากลําคอ สามารถได้ยินด้วยการใช้หูฟังตามจุดต่างๆ เสียงที่ได้ยินนี้จะผิดปกติได้ถ้าเนื้อปอดผิดปกติเช่น Bronchophony,Egophony,Whisper
4.3 เสียงผิดปกติ (adventitious sound) 1. Crepitation หรือ crackle ได้ยินขณะหายใจเข้าลักษณะเสียงคล้ายใช้นิ้วขยี้ผมใกล้ๆ หู crepitation เกิดจากอากาศผ่านน้ำเมือก 2.Rhonchi ได้ยินทั้งช่วงหายใจเข้าและออกเกิดจากอากาศ ผ่านหลอดลมใหญ่ที่ตีบแคบ และมีน้ำเมือกหรือ 3.Wheezing ได้ยินทั้งช่วงหายใจเข้าและออกลักษณะเสียงจะต่อเนื่อง เกิดจากอากาศผ่านหลอดลมเล็กที่ตีบแคบ 4.Pleural friction rub ได้ยินทั้งช่วงหายใจเข้า-ออก ลักษณะเสียงคล้ายการถูไถ และเสียงนี้จะไม่เปลี่ยนแปลงเวลาไอ
4.1 การฟังเสียงหายใจ หรือเสียงปอด (breath sound) :green_cross:ภาวะปกติ ลักษณะเสียงที่ได้ยินจะเป็นไปตามตําแหน่งของปอด ได้ยินตามตําแหน่งต่าง ๆ มี 3 เสียง คือ Bronchial, Broncho-vesicular breath sound ,Vesicular breath sound :green_cross: ภาวะผิดปกติ เสียงหายใจเบากว่าปกติ (diminished breath sound) แสดงว่ามีการกั้นการนําเสียงจากเนื้อปอดมาสู่ผนังทรวงอก เสียงหายใจปกติที่พบในตําแหน่งที่ไม่ควรพบ เสียงหายใจมีลักษณะเปลี่ยนไป
:<3: 2. การคลํา สิ่งที่ต้องคลํา คือ คลําส่วนต่างๆ ของทรวงอก คลําการขยายตัวของทรวงอกอาการสั่นสะเทือนของเสียงพูด หรือ tactile fremitus หรือ Vocal fremitus
2.1 การคลําส่วนต่าง ๆ ของทรวงอก คลํากล้ามเนื้อกระดูก ตําแหน่งกดเจ็บ หรือยุบลงหรือตําแหน่งที่มีความผิดปกติเช่น คลําได้เสียงกรอบแกรบ :check: ภาวะปกติ rib cage จะยืดหยุ่น กระดูก sternum ไม่ค่อยเคลื่อนที่กระดูกสันหลังอยู่กับที่ กระดูกสะบักและมุมล่างของกระดูกสะบักอยู่ระดับเดียวกัน :green_cross: ภาวะผิดปกติ มีก้อน แผล ตําแหน่งกดเจ็บ มี crepitus ซึ่งเป็นลักษณะกรอบแกรบที่คลํา และฟังได้
2.2 คลําการขยายตัวของทรวงอก (ปอด) (expansion of thorax or lung) :check:ภาวะปกติ ฝ่ามือทั้งสองรู้สึกถูกดันขยายออกเท่ากัน และเมื่อสังเกตจะเห็นนิ้วหัวแม่มือเครื่อง แยกออกจากจุดกึ่งกลางในระยะที่เท่ากัน :green_cross: ภาวะผิดปกติ ความรู้สึกถูกดันขยายขณะหายใจของมือทั้งสองข้างไม่เท่ากัน นิ้วหัวแม่มือเคลื่อนแยกออกจากจุดกึ่งกลางไม่เท่ากัน ด้านที่เคลื่อนไหวน้อยแสดงว่าปอดหรือทรวงอกขยายน้อยบ่งบอกว่ามีพยาธิสภาพภายใน
2.3 การคลํา tactile (vocal) fremius เป็นการตรวจการสั่นสะเทือนที่เกิดจากเสียงที่ผู้รับ บริการพูด และส่งผ่านจากปอดมายังผนังทรวงอก
:<3: 3. การเคาะทรวงอก (ปอด) การเคาะทรวงอกจะเปรียบเทียบเสียงที่เกิดจากการเคาะ บนทรวงอก (ปอด) ทั้งสองข้างเพื่อประเมินสภาพปอดที่อยู่ภายใน :check: ภาวะปกติ จะได้ยินเสียงเคาะชนิด resonance ทั่วทั้งปอด :green_cross:ภาวะผิดปกติ พบเสียง hyperresonance เช่นใน ภาวะpneumothorax, emphysema
:star: การตรวจเต้านม เทคนิคที่ใช้คือ การดูและการคลํา ภาวะปกติ เต้านมทั้งสองข้างไม่ควรแตกต่างกันมาก สีผิวอ่อน กว่าผิวกาย ไม่มีก้อน ไม่พบ หลอดเลือดที่ผิดปกติ หัวนมสีชมพูหรือน้ำตาลเข้ม ไม่มีสิ่งคัดหลั่งที่ผิดปกติไหลออกมา ภาวะผิดปกติ เต้านมขนาดใหญ่มากกว่าปกติ หรือทั้งสองข้าง ไม่เท่ากันแตกต่างกันมากผิวหนัง มีสีแดง มีลักษณะเหมือนผิวส้ม มีการอักเสบ
:star: การตรวจหลอดเลือดดำที่คอ (Jugular vein) และหลอดเลือดส่วนปลาย จะใช้เทคนิคการดูและการคลำ :check:ภาวะปกติ ไม่เห็น jugular vein โป่งพองหรือ neck veinengorge ในท่านอนศีรษะ 45 หรือความดันเลือดดําjugular jugular venous pressure) ไม่เกิน 2 เซนติเมตรในท่านอนส สูง 45 :green_cross:ภาวะผิดปกติ jugular vein โป่งพอง ความดันเลือดดําjugular เกินกว่า 4 เซนติเมตร , หาก jugular vein โป่งพองด้านเดียวให้นึกถึงปัญหาที่คอ
:star: การตรวจรักแร้ การตรวจรักแร้เพื่อตรวจต่อมน้ำเหลืองบริเวณรักแร้ ใช้เทคนิคการดและคลํา สังเกตสีผิวและการมีก้อนบริเวณรักแร้ :check: ภาวะปกติ คลำไม่พบก้อน คลำไม่พบต่อมน้ำเหลือง :green_cross: ภาวะผิดปกติ พบก้อนหรือต่อมน้ำเหลืองขนาดใหญ่กว่าปกติ
-
-
-
-
-