Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ - Coggle Diagram
บทที่ 2
ทฤษฎีการเรียนรู้
ความหมายของทฤษฎีการเรียนรู้
แนวคิดที่ได้รับการยอมรับว่าสามารถใช้อธิบายการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคล อันเนื่องจากปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
ความสำคัญของทฤษฎีการเรียนรู้
ช่วยในการจัดการกับความรู้
ช่วยในการจัดการกับประสบการณ์ที่ควรมีมาก่อนของผู้เรียน
ช่วยให้เข้าใจพฤติกรรมผู้เรียนและปรับพฤติกรรมผู้เรียนให้ดีขึ้น
ช่วยในการวางแบบแผนในการทำงาน
เป็นกรอบแนวคิดในการดำเนินการวิจัย
ทฤษฎีการเรียนรู้และหลักการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Maslow
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Rogers
หลักการสอน
ควรกระตุ้นให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
ควรเน้นการพัฒนากระบวนการเรียนรู้
ควรให้ความสำคัญกับความรู้สึก และการคิดภายในของผู้เรียนแต่ละคน
ควรจัดบทเรียนสอดคล้องกับความสนใจและความต้องการของผู้เรียน
ผู้เรียนจะเรียนรู้ได้ดีก็ต่อเมื่อความต้องการพื้นฐานได้รับการตอบสนอง
ผู้เรียนควรได้บูรณาการความรู้สึกของตนเองในการเรียน
แนวคิดที่สำคัญ
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของ Knowles
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของ Faire
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของ Combs
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของ Illics
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของ Neil
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
แนวคิดที่สำคัญ
ทฤษฎีสนาม
ทฤษฎีเครื่องหมาย
ทฤษฎี Gestalt
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของ Piaget
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของ Bruner
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของ Ausubel
หลักการสอน
กระบวนการคิดเป็นสิ่งสำคัญต่อการเรียนรู้ ผู้สอนจะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้สอนควรจัดประสบการณ์ให้้สอดคล้องประสอบการณเดิมของผู้เรียน
ผู้สอนเป็นผู้ช่วยเอื้อกระบวนการสร้างความรู้ของผู้เรียน
ผู้เรียนควรมีส่วนร่วมในการเรียนอย่างกระตือรือร้น
ส่งเสริมการสร้างแรงจูงใจให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
แนวคิดที่สำคัญ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติของ Watson
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่องของ Guthrie
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติของ Pavlov
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนต์ของ Skinner
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Hull
ทฤษฎีการเชื่อมโยงแบบคลาสสิคของ Thorndike
หลักการสอน
มีแผนการสอนที่ชัดเจนเป็นลำดับขั้น
สร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียน
เน้นการให้สิ่งเสริมแรง
ให้แรงเสริมโดยการให้รางวัลหรือคำชม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มผสมผสานของ Gagne
แนวคิดที่สำคัญ
ประเภทของการเรียนรู้
การเชื่อมโยงทางภาษา
การเรียนรู้เชื่อมโยงแบบต่อเนื่อง
การเรียนรู้สิ่งเร้า-การตอบสนอง
การเรียนรู้กฏ
การเรียนรู้สัญญาณ
การเรียนรู้การแก้ปัญหา
การเรียนรู้ความแตกต่าง
การเรียนรู้ความคิดรวบยอด
สมรรถภาพการเรียนรู้ของมนุษย์
ทักษะเชาวน์ปัญญา
ยุทธศาสตร์ในการคิด
สมรรถภาพในการเรียนรู้ข้อเท็จจริง
ทักษะการเคลื่อนไหว
เจตคติ
หลักการสอน
ให้แนวทางการเรียนรู้
ให้ลงมือปฏิบัติ
เสนอบทเรียน
ให้ป้อนข้อมูลกลับ
กระตุ้นผู้เรียนให้ระลึกถึงความรู้เดิมที่จำเป็น
ประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดประสงค์
แจ้งจุดประสงค์
ส่งเสริมความแม่นยำและการถ่ายโอนการเรียนรู้
สร้างความสนใจ
ทฤษฎีพหุปัญญา
แนวคิดที่สำคัญ
ด้านการเข้าใจตนเอง
ด้านมิติสัมพันธ์
ด้านการเข้าใจธรรมชาติ
ด้านดนตรี
ด้านคณิตศาสตร์
ด้านการเคลื่อนไหวร่างกายและกล้ามเนื้อ
เชาวน์ปัญญาด้านภาษา
ด้านการเข้าใจผู้อื่น
หลักการสอน
ต้องเหมาะสมกับขั้นการพัฒนาการในแต่ละด้านของผู้เรียน
เน้นการส่งเสริมความเป็นเอกลักษณ์ของผู้เรียน
มีกิจกรรมที่หลากหลายส่งเสริมเชาวน์ปัญญาที่หลากหลาย
ควรประเมินหลายๆด้าน
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
แนวคิดที่สำคัญ
Cognitive Constructivism แนวคิดของ Piaget
การดูดซึมเข้าสู่โครงสร้างทางปัญญา
การปรับโครงสร้างทางปัญญา
Social Constructivism แนวคิดของ Vygotsky
ควรจะสนองต่อแนวทางการจัดหลักสูตรและการวางแผนบทเรียน
การเรียนรู้ในโรงเรียนควรเกิดขึ้นในบริบทที่มีความหมายและไม่ควรแยกจากการเรียนรู้
เรียนรู้และพัฒนาด้านสังคม
หลักการสอน
แนวทางการจัดการเรียนการสอน
ผู้สอนควรสร้างบรรยากาศทางสังคมจริยธรรม
ผู้เรียนมีบทบาทในการเรียนรู้อย่างเต็มที
ผู้เรียนต้องเป็นผู้จัดกระทำกับข้อมูล
ผู้สอนเป็นผู้ให้ความร่วมมือ และช่วยเหลือผู้เรียนในการเรียนรู้
การเรียนรู้ทักษะจะต้องแก้ปัญหาได้จริง
การประเมินตามจุดมุ่งหมายในลักษณะที่ยืดหยุ่นกันไปในแต่ละบุคคล
ผู้สอนเป็นตัวอย่างการฝึกฝนกระบวนการเรียนรู้
ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอน
ขั้นสำรวจ
ขั้นเสนอการอธิบายและการแก้ปัญหา
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
ขั้นนำไปปฏิบัติจริง
ทฤษฎีการสร้างความรูู้ด้วยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน
แนวคิดที่สำคัญ
เป็นพื้นฐานแนวคิดมาจากทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของ Piaget
หลักการสอน
ส่งเสริมผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยสื่อเทคโนโลยีสมัยใหม่
สร้างบรรยากาศที่ดีในการเรียนรู้
ส่งเสริมสาระการเรียนรู้จากการสร้างผลงานต่างๆขึ้นด้วยตนเอง
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ
แนวคิดที่สำคัญ
สมาชิกแต่ละคนมีความรับผิดชอบหรือหน้าที่ที่สามารถตรวจสอบได้
มีการใช้ทักษะระหว่างบุคคล mk'มนุษยสัมพันธ์และทักษะการทำงานกลุ่ม
มีการปรึกษาหารือกันอย่างใกล้ชิดของสมาชิก
มีกระบวนการทำงานกลุ่ม
มีการพึ่งพาอาศัยกันในทางที่เป็นประโยชน์
หลักการสอน
จัดแต่งสาระที่ให้ผู้เรียนแต่ละคนมีส่วนในการช่วยกลุ่ม
ผู้สอนควรมีการเตรียมกลุ่มเพื่อการเรียนรู้ร่วมกัน
จัดสาระวัสดุที่จะให้ผู้เรียนทำวิเคราะห์สาระวัสดุที่จะให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
ผู้สอนควรดูแลให้สมาชิกมีการปรึกษาหารือกันอย่างใกล้ชิด
จัดสถานที่ให้เหมาะสมในการทำงานและการมีปฏิสัมพันธ์กัน
ผู้สอนควรจัดให้ผู้เรียนมีเวลาในการวิเคราะห์การทำงานของกลุ่มและพฤติกรรมของสมาชิกกลุ่ม
กำหนดขนาดของกลุ่ม องค์ประกอบของกลุ่ม และบทบาทของสมาชิก
ผู้สอนควรประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียนทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ
กำหนดจุดมุ่งหมายของบทเรียน
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน
แนวคิดที่สำคัญ
เป็นทฤษฎีการเรียนรู้ที่อยู่บนพื้นฐานของโครงสร้างและหน้าที่การทำงานของสมอง
หลักการสอน
การจัดการเรียนรู้ต้องคำนึงถึงอิทธิพลของอารมณ์ ความรู้สึก และเจตคติของผู้เรียน
ผู้สอนควรจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ใช้สมองครบทุกส่วน
การค้นหาความหมายเกิดขึ้นจากการเรียนรู้แบบแผนขั้นตอนการจัดระบบข้อมูล
ผู้สอนควรให้ความใส่ใจไม่ใช่สนใจเพียงเฉพาะด้านความรู้สึกนึกคิดหรือสติปัญญาด้านเดียว
ยอมรับการให้ความหมายเป็นเอกลักษณ์แต่ละบุคคลและความเข้าใจของผู้เรียนอยู่บนพื้นฐานของประสบการณ์แต่ละคน
กระบวนการเรียนรู้เกิดขึ้นทั้งในภาวะรู้ตัวและไม่รู้ตัว
เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงของสิ่งแวดล้อม
การจัดการเรียนการสอนที่เน้นด้านการท่องจำทำให้ผู้เรียนไม่เกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ที่ได้สัมผัสและเรียนรู้โดยตรง
จัดการเรียนการสอนอย่างหลากหลาย
การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดเกิดจากประสบการณ์
ในการสอนต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในสิ่งที่ชอบ
บรรยากาศในชั้นเรียนควรเป็นการท้าทายแต่ไม่ใช่การข่มขู่ผู้เรียน