Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจที่เกิดภายหลัง, นางสาวนิศารัตน์ แป้นหาญ 61180040415 - Coggle…
โรคหัวใจที่เกิดภายหลัง
ไข้รูมาติก
-
-
อาการและอาการแสดง
-
อาการรอง
-
-
-
อาการอื่นๆที่อาจพบได้ คือ รู้สึกไม่สบาย อ่อนเพลีย ปวดเมื่อย
เหงื่อออกมาก เจ็บหน้าอก ซีด และ น้ำหนักลด
-
การรักษา
-
-
ให้นอนพัก โดยทั่วไปผู้ป่วยที่มี carditis และอาการหัวใจวาย ให้พักจนกว่าจะควบคุมภาวะหัวใจวายได้ ต่อมาค่อยๆ เพิ่มการเคลื่อนไหวมากขึ้นในเวลา 3 เดือน
ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจวาย ให้การรักษาโดยใช้ยา digitalis เช่น digoxin ยาขับปัสสาวะ ยาลด afterload ได้แก่ ยาขยายหลอดเลือดแดง รวมทั้งยากลุ่ม angiotensin converting enzyme inhibitor
การรักษา chorea เช่น phenobarbital, haloperidol และอาจใช้ chlopromazine
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 1 ผู้ป่วยมีการอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจ เนื่องจากติดเชื้อ ß-hemolytic streptococcus group A
กิจกรรมการพยาบาล
- ดูแลให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษาเพื่อกำจัดเชื้อ ß-hemolytic streptococcus group A
- อธิบายให้ผู้ป่วยและ/หรือบิดามารดาให้เข้าใจถึงเหตุผลในการให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดำเพื่อให้ผู้ป่วยและ/หรือบิดามารดาให้ความร่วมมือในการรักษา
- ดูแลให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนอย่างเต็มที่ จำกัดกิจกรรมต่างๆที่ต้องออกแรงเพื่อลดการทำงานของหัวใจลดลง
-
โรคหัวใจรูมาติก
สาเหตุ
ร่างกายได้รับเชื้อ ß-hemolytic streptococcus group A ประมาณ 1-5 สัปดาห์ แล้วไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง หรือทันท่วงที จึงทำให้เกิด หัวใจอักเสบ และจะมีการทำลายลนิ้หัวใจด้วย
พยาธิสภาพ
ภายหลังที่เด็กเป็นไข้รูมาติกแล้ว จะมีการอักเสบของลิ้นหัวใจทุกชั้น เช่น เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ กล้ามเนื้อหัวใจ อักเสบ และเยื่อบุหัวใจอักเสบ
ประกอบด้วย แผ่นลิ้น (cusp) เนื้อเยื่อยึดลิ้น (chordae tendinae) และกล้ามเนื้อ papillary (papillary muscle)
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
- ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ß-hemolytic streptococcus group A ซ้ำและมีการติดเชื้อเยื่อบุหัวใจจากการเป็นโรคไข้รูมาติกมาก่อน
- ผู้ป่วยเสี่ยงต่อเนื้อเยื่อของร่างกายขาดออกซิเจน เนื่องจากมีภาวะหัวใจวาย เพราะมีการอักเสบของหัวใจ และพยาธิสภาพของลิ้นหัวใจ
- ผู้ป่วยมีความเครียดต่อการถูกจ ากัดให้พักอยู่บนเตียงและอยู่โรงพยาบาลเป็นระยะเวลานาน
- บิดามารดาเกิดความวิตกกังวลต่อการเจ็บป่วยของบุตร และการดูแลบุตรเมื่อกลับบ้าน
โรค คาวาซากิ
-
อาการ/อาการแสดง
-
- ตาแดง จะเป็นทั้ง 2 ขาง มักเห็นภายใน 2-4 วันแรกนับจากเริ่มมีไข้ ตาที่แดงจะเป็นบริเวณตาขาวมาก ไมค่อยมีขี้ตา และไม่ค่อยเจ็บ
3.ริมฝปากแห้งและแดง อาจแตกมีเลือดออกด้วย เยื่อบุในปากจะแดงด้วย
แต่ไม่มีแผล ลิ้นจะแดงและมีปุ่มรับ รสใหญ่กว่าปกติ ลักษณะคล้ายผลสตรอเบอรรี่
4.ฝามือและฝ่าเท้า จะบวมแดง บางรายเจ็บชัดเจน ตั้งแต่ช่วงแรกๆของโรค ประมาณ 2-3 สัปดาห์หลังจาก เริ่มมีไข้จะเห็นผิวหนังลอก โดยเริ่มลอกบริเวณรอบๆเล็บมือ เล็บเท้า อาจลามมาจนลอกทั้งฝ่ามือ ฝ่าเท้า
5.ผื่น มักขึ้นภายใน5 วันแรกนับจากมีไข้ โดยมักเป็นทั่วทั้งบริเวณล าตัว และแขน ขา โดยบริเวณสะโพก อวัยวะเพศ ขาหนีบ ผื่นจะหนาแน่นที่สุด บางครั้งจะมีการลอกคล้ายที่มือและเท้า
-
การรักษา
ในช่วงที่มีไขใน 10 วันแรก จะตองตรวจหัวใจด้วยเครื่องอัลตราซาว เพื่อดูลักษณะหลอดเลือดเลี้ยง หัวใจ และให้ยาลดการอักเสบคือ ยา aspirin ขนาดสูงใหรับประทานอยางต่อเนื่องประมาณ 1 – 2 สัปดาห์และให intravenous immune globulin (IVIG) เข้าหลอดเลือดดำ
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อน ทางระบบไหลเวียนซ่ึงส่วนใหญ่ในระยะแรกๆ อาจมีหัวใจอักเสบ ลิ้นหัวใจรั่ว ระยะต่อมาจะมี
หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจโป่งพอง
-
-