Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินการตรวจร่างกาย (4) การตรวจช่องท้องและอวยัวะสืบพนัธุ์, image,…
การประเมินการตรวจร่างกาย (4) การตรวจช่องท้องและอวยัวะสืบพนัธุ์
การตวรจท้อง (Abdomen)
การแบ่งหน้าท้องออกเป็น 4 สวน Right lower quadrant (RLQ) คือ ส่วนลางขวา Right upper quadrant (RUQ) คือ ส่วนบนขวา Left lower quadrant (LLQ) คือ ส่วนล่างซ้าย Left upper quadrant (RUQ) คือ ส่วนบนซาย
การแบ่งท้องออกเป็น 9 ส่วน 1. Hypochondrium ขวา 2. Epigastrium 3. Hypochondrium ซ้าย 4. Lumbar region ขวา 5. Umbilical area 6. Lumbar region ซ้าย 7. Inguinal region ขวา 8. Hypogastrium หรือ Suprapubic region 9. Inguinal region ซ้าย
เทคนคิในการตรวจท้อง
การจัดท่าการตรวจส่วนท้อง
ให้ผู้รับบริการนอนหงาย ในท่าที่สบายและไม่เกร็ง แขนทั้งสอง วางข้างล่าตัว
ควรให้ผู้รับบริการถ่าย ปัสสาวะก่อนตรวจท้อง
อุปกรณท์ี่ใชก้ารตรวจส่วนท้อง
หูฟัง (stethoscope) ถุงมือสะอาด สายวัด ผ้าคลุม
การดู
รูปร่าง (Contour) แบน(Flat) เว้าเหมือนเรือ (Scaphoid) กลม (Rounded)
ภาวะปกติ
ท้องจะสมมาตรกัน พบแผลเป็นและลายที่ผนังหน้าท้องใน ผู้ที่เคยผ่าตัดและเคยตั้งครรภ์ ไม่พบหลอดเลือดด่าขยายหรือโป่งพอง ในคนผอมอาจเห็นการเต้นของหลอด เลือดแดงใหญ่บริเวณลิ้นปี่
เส้นสดิ่งกลางท้อง ที่เกิดขึ้นตอนตั้งครรภ์ หรือ Linea Nigra พบได้มากกว่า 80% ในผู้หญิงตั้งครรภ์
ภาวะผิดปกติ
ถ้าหากเป็นท้องโตเนื่องจากมีก้อน เมื่อนอนในท่าต่างๆ การโตจะค่อนข้างคงรูปและ ต่าแหน่งเดิม ถ้าหากมีของเหลวภายใน เมื่ออยู่ในท่านอนต่างๆ ซึ่งในท่านอนหงายจะเห็นท้องป่อง ด้านข้างคล้ายท้องกบ
เมื่อพบท้องโตหรือมีก้อนต้องสังเกตว่าอยู่ต่าแหน่งใด ขนาด เท่าใด เคลื่อนที่ได้หรือไม่ ท้องแฟบกว่าปกติมากเรียก Scaphoid abdomen อาจ พบในผู้ที่ขาดสารอาหาร หน้าท้องมีแผลอักเสบติดเชื้อหรือแผลไม่ติด มีการขยายของหลอดเลือดด่าชัดเจน เช่น มีหลอดเลือดด่า รอบๆชัดเจนรอบสะดือ
อาจพบสะดือถูกดึงหรือดันที่ ผิดปกติ หรือสะดือจุ่นจากการมีสารน้่าในช่องท้อง บริเวณขาหนีบมีก้อนนูน ซึ่งอาจเป็น hernia
การฟัง
ส่วนอก (Chest piece) มีอยู่ 2 ด้าน แบนเรียบ(diaphragm) ใช้ฟังเสยีงที่มคีวามถี่สูง ระฆัง (bell) ฟังเสียงที่มีความถี่ต่ำ
Bell ใช้เพื่อตรวจสอบเสียงต่่า เช่น เสียงหัวใจที่ผิดปกติ และ เสียง bruit กดเบาๆ
Diaphragm ใช้เพื่อตรวจสอบเสียงสูง เช่น เสียงหายใจ เสียงหัวใจปกติ และเสียงลำไส ้
เครื่องขยายเสียง (doppler) ใช้ส่าหรับขยายเสียงเพื่อช่วยให้ฟังเสียงได้ชัดเจนขึ้นในกรณีเสียงเบาไม่ สามารถฟังด้วย Acoustic Stethoscope
ภาวะปกติ จะได้ยินเสียงการเคลื่อนไหวเป็นจะได้ยินเสียงการเคลื่อนไหวเป็นเสียง กร๊อก กร๊อก คล้ายเทน้่าออกจากขวด ได้ยินทุก 2-10 วินาท
ภาวะผิดปกติ เสียงการเคลื่อนไหวหรือการบีบตัวของล่าไส้จะดังและบ่อยมากขึ้น ซึ่งพบ ในรายที่มีการอักเสบอุดตัน
เสียงกรุ้งกริ้ง (tinkling sound) เป็นเสียงน้่าปนกับอากาศ ในล่าไส้เกิดจาการขยายของล่าไส้ (dilatation) ่มีเยื่อบุช่องท้อง อักเสบ (peritonitis)
เสียงท้องที่ดังอยู่ตลอดเวลาหรอืเกอืบตลอดเวลา จะแสดงว่ากระเพาะล่าไส้ท่างานมาก เช่น กระเพาะล่าไส้อักเสบ เสียงท้องที่เงยีบหายหรือนานๆ จึงจะได้ยนิเสยีงสกัครั้ง จะแสดงว่า กระเพาะล่าไส้ ท่างานน้อย เช่น หลังผ่าตัดช่องท้อง เสียงท้องที่แหลมชัด ซึ่งมักเกิดร่วมกับเสียงท้องที่ดังอยู่เกือบตลอดเวลา
เสียงฟู่ (bruit หรือ murmur) และเสียงหัวใจเต้น เสียงฟู่ที่ได้ยินมักแสดงว่า หลอดเลือดแดงตีบหรือคอด
เสียงเด็กดิ้น และเสียงหัวใจเด็กในครรภ์ ซึ่งฟังได้จากหน้าท้องของหญิงที่มีครรภ์ตั้งแต่ 5-6 เดือนขึ้นไป
การเคาะ
การตรวจหาสารน้ำในช่องท้อง มี 2 วิธี คือ การตรวจ shifting dullness และ fluid thrill
การตรวจ fluid thrill หรือ การกระเพื่อมของน้ำในช่องท้อง ผู้รับบริการนอนหงาย ผู้ตรวจใช้ฝ่ามือข้างหนึ่งวางทาบข้างท้องผู้รับบริการ อีกมือเคาะที่ข้าง ท้องด้านตรงข้ามโดยอาจขอให้ผู้รับบริการวางสันมือบริเวณเส้นกลางตัว และกดด้วยแรงเล็กน้อย ถ้าสั่นสะเทือน เรียกวา่ การตรวจให้ผลบวก
ท่านอนตะแคง เคาะทางด้านข้างซึ่งเคยเคาะได้เสียงทึบ ถ้าหากเป็นน้่าเสียงที่เคาะ ได้จะเปลี่ยนจากทึบเป็นเสียงโปร่ง ถ้าหากเคาะต่่าลงไปจะได้ยินเสียงทึบสูงกว่าขอบที่ เคยท่าเครื่องหมายไว้ที่อีกด้านหนึง
ภาวะผิดปกติ ได้เสียง hypertympany ในกรณีมีอากาศมาก หากมีสารน้ำหรือก้อน เคาะเสียงโปร่งน้อยลง (hypotvmpany) หรือทึบ (dull)
การเคาะม้าม
ภาวะปกติ พบเสียงทึบของม้าม (Splenic dullness) ได้ที่ช่องซี่โครงที่ 9-10 หรือ mid axillary line ส่วนช่องซี่โครงที่ 11 จะโป่รง
ภาวะผิดปกติ พบเสียงทึบของม้ามมากกว่าปกติ เช่น ทึบในแนว anterior axillary line ซ้าย จนถึงช่องซี่โครงที่ต่่าสุดในช่วงหายใจเข้า อาจถือว่ามีม้ามโต หรือการตรวจ splenic percussion ได้ผลบวก
การเคาะต้องสังเกตดูว่าเสียงเคาะปกติ โปร่ง หรือทึบผิดปกติ ภาวะปกติ จะได้เสียงโปร่ง หรือ tympany
การเคาะไต
ต่าแหน่ง CVA ด้วยแรงพอสมควร โดยใช้กำปั้น ด้านนิ้วก้อยสัมผัสกับผู้ป่วย วิธีนี้เรียกว่า การเคาะ โดยตรง อีกวิธีคือ วางฝ่ามือด้านที่ไม่ถนัดบน ตำแหน่ง CVA แล้วทุบกำปั้นลงบนฝ่ามือ
ภาวะปกติจะไม่มีอาการเจ็บเมื่อเคาะถูก ภาวะผิดปกติ คือ มีอาการเจ็บหรือปวด
การเคาะตับ ให้เคาะที่ทรวงอกด้านขวาจากบนลงล่าง ในแนว mid clavicular line วางมือซ้ายให้นิ้วมือขนานกับช่องซี่โครง และ เริ่มเคาะที่ช่องซี่โครงที่ 2 ลงมาเรื่อย ๆ ปกติจะเริ่มได้เสียงทึบ
การคลำ
การคลำม้าม
ภาวะปกติ คลำไม่พบขอบม้าม ภาวะผิดปกติ คลำพบขอบม้าม ซึ่งต้องโตประมาณ 2-3 เท่าของขนาดปกติ จึงจะคลำได้
การคลำตับ
ภาวะปกติ ปกติจะคลำขอบตับไม่พบหรือประมาณ 1-2 เซนติเมตร จากใต้ชาย โครงขวา ขอบตับที่คลำได้ ผิวจะเรียบ ขอบเรียบ บาง นุ่ม ไม่ขรุขระและกดไม่เจ็บ
ภาวะผิดปกติ ตับมีขนาดโตเกินขอบชายโครงมาก ตับแน่น (firm) แข็ง (hard) หรือแข็ง มากเหมือนหิน (stony hard) ผิวขรุขระ (nodular) และกดเจ็บ (tenderness)
ภาวะปกติ ท้องนุ่ม ไม่มีต่าแหน่งกดเจ็บ ไม่มีท้องตึงแข็ง (guarding abdomen) ไม่มี กดเจ็บ ภาวะผดิปกติ ท้องตึงแข็ง (guarding abdomen) กดเจ็บ (tenderness abdomen) ตึงแข็งและกดเจ็บ
การคลำไต
ภาวะปกติ คลำได้ขอบล่างของไตขวาระหว่างมือทั้งสองระหว่างหายใจเข้า ขอบเรียบ แข็ง และไม่เจ็บ ไตซ้ายคลำไม่ได้
ภาวะผิดปกติ คลำได้ไตหรือก้อนขนาดใหญ่ หรือได้ลักษณะผิดปกติระหว่างมือทั้งสอง ขอบไม่เรียบ แข็งมากหรือกดเจ็บ
การตรวจอวัยวะสืบพันธุ์
(Genital organ)
จะตรวจเมือมีปัญหา หรือคาดวา่จะมี พยาธิสภาพที่สว่นนั้น เทคนิคที่ใช้ คือ การดูและการคลำควรสวม ถุงมือเพื่อป้องกันการปนเปื้อน
การตรวจอวัยวะสืบพันธ์ุชาย
ภาวะปกติ ผิวหนังไม่มีรอยโรค การกระจายของขนปกติ คือ เป็นรูปสามเหลี่ยมปลาย ยอดไปสะดือ ไม่มีแผลและการอักเสบหนังหุ้มปลายองคชาติ เปิดได้หมด ไม่มีก้อน ไม่มี hernia
ภาวะผิดปกติ ผิวหนังมีรอยโรค มีแผล ก้อน สิ่งคัดหลั่งที่ผิดปกติ และมีการอักเสบ ซึ่ง ต้อง ตรวจโดยละเอียดต่อไป
การตรวจอวัยวะสืบพันธุ์หญิง
ภาวะปกติ ผิวหนังไม่มีรอยโรค การกระจายของขนปกติ คือ ในผู้หญิงเป็นรูปสามเหลี่ยม ปลายยอดชี้ลงล่าง ไม่มีแผล ก้อนและการอักเสบ ไม่มีสิ่งคัดหลั่ง ไม่มีอวัยวะอื่นโผล่ ไม่มี ก้อนและไม่มี hernia
ภาวะผดิปกติ ผิวหนังมีรอยโรค มีการอักเสบ แผล มีสิ่งคัดหลังผิดปกติ มีก้อน หรือมี การ โผล่ ของอวัยวะอื่นออกมาทางช่องคลอด มี hernia หรือ ก้อนโตผิดปกติ
การตรวจทวารหนัก
การตรวจใช้เทคนิค การดูและการคลำ อุปกรณ์วาสลินหรือ K-Y jelly และถงุมือ สถานที่ตรวจ มิดชิด ปิดม่าน ควรมบีคุคลที่ 3 อยู่ด้วยเสมอ จัดท่า นอนคว่ำเข่างอชิดอก หรือนอนตะแคงซ้าย เข่าและหลังงอ
สังเกตดู บริเวณผิวหนังรอบทวารหนักว่าปกติหรือไม่ มีริดสีดวงทวาร
การคลำ จะตรวจเมื่อผู้รับบริการมีปัญหา และต้องท่าด้วยความระมัดระวัง ความตึงตัวของกล้ามเนื้อหูรูด โดยบอกให้ผู้รับบริการลองขมิบ ก้น จากนั้นคลำบริเวณผนังไส้ตรงโดยรอบ
การคลำต่อมลูกหมาก
ภาวะผิดปกติ มีแผล รอยเกา รอยอักเสบ มีการฉีกขาดเป็นร่อง (fissure) มีริดสีดวง ทวาร (hemorrhoid) และฝี ถุงน้ำ ฝี มีก้อน
ภาวะปกติ ไม่มีรอยแผล รอยเกา รอยอักเสบ รอยโรค ก้อน ถุงน้่ากล้ามเนื้อมีความตึงตัว ต่อมลูกหมากปกติลักษณะนุ่ม ไม่โต ไม่เจ็บ