Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรวยไตอักเสบ (Pyelonephritis) - Coggle Diagram
กรวยไตอักเสบ (Pyelonephritis)
พยาธิสภาพ
กรวยไตอักเสบมักเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียอีโคไล (E. Coli)
ซึ่งเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น การอักเสบต่อเนื่องของกระเพาะปัสสาวะหรือท่อปัสสาวะ การอุดตันของทางเดินปัสสาวะ
บางกรณีเชื้อแบคทีเรียอาจแพร่กระจายเข้าสู่กรวยไตผ่านทางกระแสเลือดได้ โดยเฉพาะผู้ที่ติดเชื้อในข้อเทียมหรือลิ้นหัวใจเทียมหนองใน เชื้อคลาไมเดีย เชื้อมัยโคพลาสมา เชื้อสตาฟิโลคอคคัส เชื้อสเตรปโทคอกคัส เป็นต้น
อาการและอาการแสดง
เเจ็บปวดบริเวณหลังหรือสีข้าง ปวดท้อง
คลื่นไส้ อาเจียน
คลื่นไส้ อาเจียน
รู้สึกหนาวสั่น
มีไข้สูงกว่า 38 องศาเซลเซียส
ปัสสาวะบ่อย รู้สึกปวดปัสสาวะตลอดเวลา เจ็บหรือแสบขณะปัสสาวะ
ปัสสาวะมีกลิ่นเหม็น มีสีขุ่น มีหนองหรือเลือดปนมากับปัสสาวะ
หากเกิดการติดเชื้อจากเพศสัมพันธ์ อาจมีหนองหรือสารคัดหลั่งบริเวณอวัยวะเพศ
การวินิจฉัย
แพทย์มักวินิจฉัยกรวยไตอักเสบด้วยการตรวจร่างกายหาอาการไข้ ปัสสาวะขุ่น กดเจ็บบริเวณท้อง และอาการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโรคนี้ และอาจตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติมด้วยวิธีดังต่อไปนี้
การตรวจเลือด CBC เพื่อตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย หรือเชื้อโรคชนิดอื่น ๆ ในเลือด
การตรวจปัสสาวะ UA
การตรวจด้วยรังสีวิทยา แพทย์อาจวินิจฉัยโรคกรวยไตอักเสบด้วยการอัลตราซาวด์หรือเอกซเรย์ระบบทางเดินปัสสาวะ (Voiding Cystourethrogram) เพื่อตรวจหาซีสต์ เนื้องอก หรือการอุดตันในระบบทางเดินปัสสาวะ
การตรวจปัสสาวะ เพื่อตรวจหนอง เลือด หรือเชื้อแบคทีเรียที่ปะปนในปัสสาวะ หรืออาจตรวจเพาะเชื้อจากปัสสาวะ UA
Plan for diagnosis
ซักประวัตเพิ่ม : อาการปวดเป็นอย่างไร
ปวดเป็นๆหายๆ หรือปวดอยู่ตลอดเวลา แต่ละครั้งที่ปวดเวลานานเท่าใด,ประวัติการปัสสาวะการกลั้นปัสสาวะเป็นเวลานานหรือการดื่มน้ำน้อย,ประวัติการเคยใช้สายสวนปัสสาวะ เช่น เคยรับการผ่าตัดในระบบทางเดินปัสสาวะ ,ประวัติการมีเพศสัมพันธ์
ส่งตรวจเพิ่มเติม : CBC ,การอัลตราซาวด์หรือเอกซเรย์ระบบทางเดินปัสสาวะ (Voiding Cystourethrogram)
ตรวจร่างกายเพิ่มเติม:การตรวจปัสสาวะ UA
Specific
การใช้ยาปฏิชีวนะเป็นพื้นฐานการรักษากรวยไตอักเสบโดยทั่วไป ซึ่งแพทย์อาจให้ยาปฏิชีวนะที่เจาะจงรักษาเชื้อแบคทีเรียชนิดใดชนิดหนึ่งหากสามารถระบุชนิดของเชื้อโรคได้ หรืออาจให้ยาปฏิชีวนะชนิดออกฤทธิ์กว้างหากไม่สามารถระบุชนิดของเชื้อแบคทีเรียได้
Supportive
การรักษาเพื่อประคับประคองตามอาการ ได้แก่ พักผ่อนให้เพียงพอ
Symptomatic
ให้รับประทานยาแก้ปวดลดไข้ เช่น พาราเซตามอล และไอบูโพรเฟน เพื่อบรรเทาอาการตามดุลยพินิจของแพทย์
Subjective data: ผู้ป่วยบอกว่าปวดท้องน้อยขวาแล้วร้าวไปที่หลัง,เวียนศีรษะคลื่นไส้อาเจียนออกมาเป็นเศษอาหาร 4 ครั้ง
Objective data: abdomen soft, tenderness at right site, bowel sound 8 times / min, rebound tenderness