Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ ที่มีความผิดปกติทางอายุรกรรม - Coggle Diagram
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์
ที่มีความผิดปกติทางอายุรกรรม
โรคโลหิตจาง
จากโรคธาลัสซีเมีย
อาการและ
อาการแสดง
รุนแรงปานกลาง
ได้แก่Hb H, α-thalassemia/HbCS โดยจะมีอาการซีดปานกลาง ตับและม้ามโต ตัวเหลืองตาเหลือง มีการเจริญเติบโตเกือบเหมือนคน ปกติ
ในรายที่เป็นHbH จะมีลักษณะเฉพาะคือ ในภาวะปกติจะไม่มีอาการ แต่เมื่อมีไข้ติดเชื้อ
จะทำให้เม็ดเลือดแดงแตกง่าย เกิดอาการซีดอย่างรวดเร็ว ถ้ารุนแรงอาจทำให้เสียชีวิตได้
กลุ่มที่ไม่มีอาการ
ได้แก่กลุ่มที่เป็นพาหะ homozygousและกลุ่ม Hb E, homozygous Hb CS โดยจะไม่มีอาการแสดง แต่อาจมีฮีโมโกลบินต่ำกว่าปกติเล็กน้อย
รุนแรงมาก
คือ homozygous α-thalassemia (Hb Bart’s hydrop fetalis)
เป็นกลุ่มที่มีอาการรุนแรงที่สุด ส่วนใหญ่จะเสียชีวิตตั้งแต่อยู่ในครรภ์ ไม่กี่ชั่วโมงหลังหลอด ทารกจะมีลักษณะบวมน้ำทั้งตัว ซีด ตับม้ามโต รกมีขนาดใหญ่
รองลงมาคือhomozygous β-thalassemia จะมีอาการรุนแรงภายใน-32 เดือนหลังคลอดระดับHb 2.3-6.7 gm% มีการเจริญเติบโตช้า ตับม้ามโต และมักเสียชีวิตตั้งแต่เด็กลุ่ม β- thalassemia/Hb E จะมีอาการภายในขวบปีแรก คือ ซีด เหลือง ตับม้ามโตthalassemiaมี facies กระดูกบางเปราะแตกง่ายร่างกายแคระเกร็น เจริญเติบโตไม่สมอายุ ต้องได้รับยาบำรุงเลือดและการ ถ่ายเลือดเป็นประจำ
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
มีโอกาสติดเชื้อเนื่องจากความต้านทานต่ำ เสี่ยงต่อการแท้ง คลอดก่อนกำหนด ในรายที่มีภาวะ Hb Bart’s hydrop fetalis มักเกิดภาวะแทรกซ้อนคือ ความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์ คลอดยาก เนื่องจากทารกมีท้องบวมโต และอาจตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ทารก
เกิดภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรังส่งผลให้ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ น้ำหนักน้อย หรือ ออกซิเจนในระยะคลอด และอาจได้รับการถ่ายทอดความผิดปกติของโครโมโซมทำให้เป็นโรคหรือเป็น พาหะ
ชนิดของ
โรคธาลัสซีเมีย
α-thalassemia เป็นความผิดปกติที่ทำให้มีการสร้างα-globin น้อยลงหรือไม่สร้างเลย
ที่พบบ่อยได้แก่α-thalassemia 1,α-thalassemia-2, Hb H และ Hb Bart’s hydrop fetalis
β-thalassemia เป็นความผิดปกติที่ทำให้มีการสร้างβ-globinน้อยลงหรือไม่สร้างเลย
ที่พบบ่อยได้แก่ β่- thalassemia trait, homozygous β-thalassemia, Hb E แ ล ะ β-thalassemia/Hb E
สาเหตุ
ความผิดปกติทางโครงสร้าง
หมายถึง มีการเปลี่ยนแปลงการเรียงตัวของaminoacid บน polypeptide chain
ทำให้เกิดHb ที่ผิดปกติHbเช่นEจะมีกรดlysine อยู่แทนที่กรดglutamicในตำแหน่ง 26
บนpolypeptide สาย beta และ Hb Constant Spring (Hb CS) เป็นต้น
ความผิดปกติทางปริมาณ
การสร้างglobin สายใดสายหนึ่งลดลงหรือไม่สร้างเลย โดยที่โครงสร้างของpolypeptide chain ยังปกติ ถ้าการสร้างglobin สาย alpha น้อยลง เรียกว่า α-thalassemia ถ้าglobin สาย beta น้อยลงβ-thalassemia
การพยาบาล
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นพาหะของธาลัสซีเมีย และสามีเข้าใจถึงความจำเป็นในคัดกรองหาพาหะธาลัสซีเมีย เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการรักษา
อธิบายสตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเกี่ยวกับโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย ลักษณะของการถ่ายทอด ทางพันธุกรรม ความแตกต่างระหว่างเป็นโรคและเป็นพาหะ อาการและอาการแสดงของโรค ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก การรักษาและการพยาบาลที่จะได้รับ
ในกรณีที่ตัดสินใจที่จะยุติการตั้งครรภ์ให้การสนับสนุนทางด้านจิตสังคมแก่สตรีต ครอบครัว พร้อมทั้งให้การดูแลให้ได้รับการส่งต่อเพื่อปรึกษานักจิตวิทยาเมื่อมีความจำเป็น
ในกรณีที่ดำเนินการตั้งครรภ์ต่อ แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ โดย ป้องกันการติดเชื้อในระบบต่างๆการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ การพักผ่อนอย่างเพียงพอ การ รับประทานยาตามแผนการรักษา การมาตรวจตามนัด และหากมีอาการผิดปกติควรมาพบแพทย์ทันที
ภาวะการไม่เข้ากัน
ของหมู่เลือดระบบ Rh
อาการและ
อาการแสดง
หากทารกมีhemolysis ที่รุนแรงขณะอยู่ในครรภ์ทารกจะซีดมากอาจเกิดหัวใจวายตัวบวมนํ้าที่ เรียกว่า hydrops fetalis และอาจเสียชีวิตในครรภ์
รายที่ไม่ตายคลอดก็จะมีปัญหาซีดมากหรือ เหลืองมากจนเสียชีวิตหรือเกิด bilirubin toxicity ได้หากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องทันทีในระยะ หลังคลอด
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
ไม่ค่อยพบผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ทารก
ในการตั้งครรภ์ที่2ทำให้ทารกเกิดภาวะneonatal anemia, hydrops fetalis, ตับและม้ามโต, hyperbilirubinemia, kernicterus, dead fetus in uterus, still birth
สาเหตุและ
ปัจจัยส่งเสริม
การไม่เข้ากันของกลุ่มเลืของมารดาและทารกในครรภ์ Rh เป็น Antigen ตัวหนึ่งที่มีเม็ด เลือดแดงพบในคนผิวขาวร้อยละ 85 และร้อยละ 95 พบในคนผิวดำอินเดียนแดงและภาคตะวันออกของอเมริกามี Rh positive นอกนั้นจะมี Rh negative
แนวทางการรักษา
และการพยาบาล
ควรตรวจ Indirect Coomb’s test อีกครั้ง เมื่ออายุครรภ์ 28 สัปดาห์ หากไม่พบว่ามี antibodies ควรให้RhoGAMเพื่อป้องกันการสร้างantibodies
ให้คำแนะนำเพื่อให้หญิงตั้งครรภ์เข้าใจถึงแผนการรักษา จะช่วยลดความกลัว ความวิตกกังวลได้ และควรบอกให้ทราบถึงผลของRhoGAM ว่าไม่มีผลใดๆ ต่อมารดาและทารกในครรภ์ อาจมีไข้เพียงเล็กน้อย
การเจาะเลือดครั้งแรกที่มาฝากครรภ์ เพื่อตรวจหาหมู่เลือดRhtypingทุกรายหากหญิง ตั้งครรภ์มีRhnegative าการ ตรวจหา antibodies screening (การคัดกรอง) อีกทั้งการให้RhoGAM จะให้ในหญิงตั้งครรภ์ที่มีRh negative ที่มีความเสี่ยง
ระยะคลอด ควรเก็บเลือดจากสายสะดือ เพื่อส่งตรวจหาหมู่เลือดและ Rh type ของทารก พร้อมทั้งทำDirect Coomb’s test เพื่อดูจำนวนเซลล์เม็ดเลือดแดงของทารกที่ ถูกจับโดยantibodies ของมารดา
เป็นหมู่เลือดที่ถูกกำหนดโดยสารแอนติเจนที่อยู่บนผิวเม็ดเลือดแดงคือ
สารดี (D antigen) โดยคนที่มีสารDอยู่บนผิวเม็ดเลือดแดงก็จะเป็นหมู่เลือดอาร์เอชบวก(Rh positive) ส่วนคนที่จะเป็นหมู่เลือดอาร์เอชลบ(Rh negative) ภาวะเม็ดเลือดแดงแตกในทารกที่มีสาเหตุจากanti-Dทารกมักมีอาการรุนแรง กว่าภาวะเม็ดเลือดแดง แตกจากหมู่เลือดระบบอื่น ๆ
ภาวะการไม่เข้ากันของ
หมู่เลือดระบบABO
อาการและ
อาการแสดง
พบเพียงอาการตัวเหลืองเท่านั้นและมักจะมีอาการเหลืองภายใน24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
อาจพบตับโต หากไม่ได้รับการรักษาเสี่ยงต่อการเกิดภาวะ kernicterus
ภาวะแทรกซ้อน
ส่วนคนที่รอดชีวิตมักเกิด mental retard หรือdevelop paralysis or nerve deafness
ทารกแรกเกิดที่ไม่ได้รับการรักษาเสี่ยงต่อการที่สมองถูกทำลายอย่างรุนแรงจากภาวะ kernicterus ทารกที่เกิดภาวะkernicterus จะเสียชีวิตประมาณ75 %
สาเหตุและ
ปัจจัยส่งเสริม
พบเฉพาะ ในแถบประเทศตะวันตกส่วนใหญ่จะพบในทารกหมู่เลือดAหรือB ที่เกิดจากมารดาหมู่เลือดO
แนวโน้มทารกที่มีอาการรุนแรงมักจะเกิดในคนผิวสี เนื่องจากanti-A และ anti-B จะมี ความแรงมากกว่าคนเอเชีย และคนผิวขาว
การพยาบาล
ประเมินความเสี่ยงของคู่มารดาและทารกจากการซักประวัติ ประวัติการตั้งครรภ์และคลอดที่ผ่านมา
เพื่อค้นหาความเสี่ยงของทารกแรกเกิด
อธิบายถึงสาเหตุและปัจจัยส่งเสริม พยาธิสรีรภาพ ผลกระทบต่อทารกในครรภ์และการ ตั้งครรภ์ครั้งต่อไป
รวมถึงการรักษาและพยาบาลแก่มารดาหลังคลอดและครอบครัว เพื่อให้เกิดคความเข้าใจคลายความวิตกกังวล และให้ความร่วมมือในการรักษา
ติดตามภาวะ jaundice ด้วยการตรวจร่างกายและผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ในทารกแรกเกิดที่มีความเสี่ยงต่อ hemolytic disease เพื่อเฝ้าระวังและรายงานแพทย์ทันทีเพื่อการรักษาที่ เหมาะสมต่อไป
ประเมินภาวะตัวเหลืองของทารกแรกเกิด หากตรวจพบภายใน 24 ชั่วโมงหลังคลอดเพื่อเฝ้า ระวังและประเมินภาวะ pathologic jaundice รายงานแพทย์เพื่อให้การช่วยเหลือได้ทันที
ทารกแรกเกิดที่ได้รับการส่องไฟ ให้วางทารกไกลแสงไฟพอประมาณburnระวังพลิกตัวทุก 3-4 ชั่วโมงและปิดตาทารกด้วย eye patches เพื่อป้องกันตาเกิดการระคายเคืองและดูแลตามแนว ปฏิบัติการพยาบาลของทารกที่ได้รับการส่องไฟ
คือเกิดการแตกตัวของเม็ดเลือดแดง เนื่องจากในขณะตั้งครรภ์หมู่เลือด ABO ของมารดาและทารกเข้ากันไม่ได้