Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาระบบประสาท ปัญหาสุขภาพจิต ปัญหาเพศสัมพันธ์ในผู้สูงอายุและการพยาบาล,…
ปัญหาระบบประสาท ปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาเพศสัมพันธ์ในผู้สูงอายุและการพยาบาล
ภาวะสมองเสื่อม Dementia
ความหมาย
เป็นกลุ่มอาการเกิดจากความผิดปกติของการทำงานของสมองด้านการรู้คิดและสติปัญญา โดยมีการเสื่อมของความจำ ผิดปกติด้านความคิด การตัดสินใจ ร่วมกับมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม บุคลิกภาพและอารมณ์ ความคิดเชิงซ้อนลดลง ทำให้รบกวนการดำรงชีวิต มีผลเสียต่อหน้าที่การงาน ชีวิตสังคม ความสัมพันธ์กับบบุคคลอื่น
สาเหตุ
Primary dementia
ความผิดปติหรือเสื่อมลงของเซลล์สมอง ซึ่งยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด
เช่น อัลไซเมอร์
Secondary dementia
เกิดจากโรคต่างๆที่ทราบสาเหตุ มีผลกระทบให้เกิดอาการสมองเสื่อม เช่น โรคเกี่ยวกับหลอดเลือดสมอง โรคติดเชื้อต่างๆ โรคจากสารพิษ
ถ้าแก้ปัญหาได้อาการสมองเสื่อมก็จะหายไปด้วย
ความแตกต่างภาวะสมองเสื่อม
ระหว่างอัลไซเมอร์กับโรคหลอดเลือดสมอง
อัลไซเมอร์
เนื้อสมองจะตายทั่วไปพร้อมๆกัน ความสามารถลดลง
โรคหลอดเลือดสมอง
เนื้อสมองจะตายเฉพาะส่วน พบความผิดปกติทันที เฉพาะด้าน
ปัจจัยเสี่ยง
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคประจำตัว
ผู้หญิง
การสูบบุหรี่
น้ำหนักตัวเกิน
สารพิษในสิ่งแวดล้อมรอบตัว
ระดับโฮโมซีสเตอีนในเลือดสูง
กรรมพันธ์ุ
พยาธิสภาพ
ผู้ป่วยอัลไซเมอร์ พบว่ามีสารผิดปกติคือ อมัยงอยด์ amyloidลพระดับ dopamine ลดลงอย่างมาก ทำให้สมองเสื่อมลง
อาการและอาการแสดง
บกพร่องด้านการรับรู้หรือเรียนรู้สิ่งใหม่
บกพร่องด้านความจำสิ่งใหม่
บกพร่องในการประกอบกิจกรรมที่ซับซ้อนหลายขึ้นตอน
บกพร่องในการตัดสินใจแก้ไขปัญหา
หลงทาง
บกพร่องในการใช้ภาษา
บกพร่องในการประกอบกิจกรรมที่เคยทำได้มาก่อน
มีการประกอบกิจวัตรประจำวันดเวยตนเองบกพร่อง
อาการเลวลงเวลาพลบค่ำ sundown shndrome
การพยาบาลผู้ป่วยสมองเสื่อม
มุ่งส่งเสริมคุณภาพชีวิต คงความสามารถ ช่วยเหลือตนเอง
ตามความสามารถให้นานที่สุด
การสื่อสารและการใช้ภาษา
การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมเบี่ยงเบนจากปกติ
การถามคำถามซ้ำ
การเลือกเสื้อผ้าและการแต่งตัว
อาการหวาดระแวงและกล่าวโทษผู้อื่น
พฤติกรรมต่อต้านก้าวร้าว อารมณ์รุนแรงเปลี่ยนแปลงง่าย
พฤติกรรมในการเดินหลงทาง Wandering
พฤติกรรมการขโมยสิ่งของและสะสมของ
พฤติกรรมทางเพศไม่เหมาะสม
การป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การรักษาหน้าที่ของสมองให้คงอยู่มากที่สุด
การส่งเสริมสภาวะทางจิตสังคมและลดอาการซึมเศร้า
พฤติกรรมแปลกๆ และมีบุคลิกภาพเปลี่ยนแปลง
ระยะดำเนินโรค
แบ่งได้3ระยะ ใช้เวลา 4-10ปี
ระยะแรก
ช่วยเหลือตนเองได้ หลงลืมไม่มาก รับรู้และสมาธิเสื่อมลง
อารมณ์ไม่เบิกบาน บุคลิกเฉื่อยชา
ระยะปานกลาง หลงลืมมาก
ช่วยเหลือตนเองได้น้อยลง ปัสสาวะผิดที่ ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม ไม่รับรู้เวลาสถานที่ จำชื่อคนไม่ได้ เดินไปมาไม่หยุด เดินหลง อารมณ์แปรปรวน ก้าวร้าว แสดงพฤติกรรมทางเพศไม่เหมาะสม
Sundown syndrome
สับสนเสลาเย็น การปรับตัวต่อความเครียดลดลง ประสาทหลอน
ระยะรุนแรงหรือระยะสุดท้าย
จำเหตุไม่ได้ทั้งอดีต ปัจจุบัน จำใครไม่ได้ ลิ้นรัว ไม่สามารถสื่อสารได้ เบื่ออาหาร เดินไม่ได้ เงียบ แยกตัว กลั้นอุจจาระปัสสาวะไม่ได้
เกิดโรคแทรกซ้อน เช่น ปอดบวม แผลกดทับ ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
การวินิจฉัย
การซักประวัติและตรวจร่างกาย
ตรวจคัดกรองเบื้องต้นว่ามีอาการซึมเศร้าหรือไม่ ประเมินสภาพจิตใจ โดยใช้ Geriatric Depression Scale:GDS หรือ Beck ฉบับย่อ
ทดสอบความจำและประเมินความสามารถด้านสติปัญญา
Mini-Mental Srate Examination Thai version (MMSE-Thai)
ประเมินภาวะสับสนเฉียบพลัน CAM Zและประเมินความสามาถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันพิ้นฐาน basic ADL
การตรวจร่างกาย
การประเมินภาวะสมองเสื่อม
เครื่องมือ ได้แก่ ประเมินการทำกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน Basic ADL, ประเมินการทำกิจวัตรประจำวันชนิดอุปกรณ์ IADL
เกณฑ์ในการวินิจฉัยภาวะสมองเสื่อม
นิยม DSM IV
มีความผิดปกติของความจำ+1(การใช้ภาษา aphasia,สูญเสียทักษะการทำกิจกรรม apraxia,ไม่รู้จักในสิ่งที่เคยรู้จักมาก่อน agnosia ,ความผิดปกติในการบริหารจัดหาร ความผิดปกติไม่ได้เกิดช่วงสับสน
หลักการรักษา
รักษาต้นเหตุ
รักษาตามอาการ
รักษาโดยใช้ยา
การป้องกัน
รับประอาหารครบ5หมู่
หลีกเลี่ยงไขมันอิ่มตัว โคเลสเตอรอลสูง ใช้น้ำมันพืช รับประทานอาหารทะเลให้มาก วิตามินอี และกรดโฟลิสูง
ควบคุมน้ำหนักตัวไม่ให้เกินเกณฑ์
BMI ไม่เกิน25 หลักเลี่ยง ดื่มเหล้าจัด บุหรี่
ฝึกฝนสมอง ฝึกใช้อุปกรณ์ใหม่ๆ
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ 3-5ครั้งต่อสัปดาห์
การพูดคุยพบปะผู้อื่นบ่อยๆ
ตรวจสุขภาพประจำปี
ระมัดระวังเรื่องอุบัติเหตุต่อสมอง
ปฏิบัติกิจกรรมอย่างมีสติ ฝึกสมาธิ
หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงติดเชื้อ
การพยาบาลญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะสมองเสื่อม
เรียนรู้และทำความเข้าใจกะบภาวะสมองเสื่อม
พยายามทำจิตใจให้สดใส อารมณ์ดี ใจเย็น
แก้ไขอารมณ์และพฤติกรรมที่เป็นปัผยหามากที่สุดก่อน
พักผ่อนเพียงพอ เนื่องจากที่ต้องดูแลรนไข้
ยืดหยุ่น ใช้ความรู้สึก สัญชาตญาณ
และจินตนาการในการดูแล
ภาวะซึมสับสนเฉียบพลัน
ภาวะสับสนเฉียบพลันเพ้อครั้ง Delirium
ความหมาย
ผู้ป่วยมีการเปลี่ยนแปลงของระดับความรู้สึกตัว สมาธิลดลง อาการเกิดรวดเร็วภายในชั่วโมงหรือเป็นวัน
อาการ
มีอาการเฉียบพลัน มีการเปลี่ยนแปลงระดับความรู่สึกตัว ความจำ จะมีช่วงดีสลับเลว
ระยะนำ : อ่อนเพลีย ไม่มีสมาธิ หงุดหงิด วิตกกังวล
การสูญเสียความจดจ่อ ปัญหาการนอน ตื่นตอนกลางคืน หลับตอนกลางวัน อารมณ์แปรปรวน ความผิดปกติในการรับรู้ เห็นภาพหลอน ระบบประสาท
ความจำเสื่อม สูญเสัยความจำระยะสั้น กระวนกระวาย เฉยเมย และแยกตัว
อาการเตือน
การเปลี่ยนแปลงสภาวะจิตใจอย่างรวดเร็ว ผิดปกติทางจิตประสาท มีโรคทางกายที่ทำให้สับสนเฉียบพลัน ได้รับยา เห็นภาพหลอน พูดจาสับสน หรือหลงวันเวลา ตรวจคลื่นสมองพบ diffuse slow wave หรือ epileptiform discharge
ชนิด
Hyperactive
อาการวุ่นวาย เห็นภาพหลอน
Hypoactive
อาการเงียบ นอนมาก
Mixed
Mixed สลับไปมาระหว่าง hyperactive และ hypoactive
เกณฑ์การวินิจฉัย
ใช้ DSM-IV
ความผิดปกติของระดับความรู้สึกตัว
ความตื่นตัวต่อสิ่งแวดล้อมลดลง
ภาวะสมองไม่สามารถคิดและหาเหตุผลได้
ผิดปกติในระยะสั้น สลับดีเลว
Confusion assessment method
เริ่มมีอาการเฉียบพลัน ดำเนินโรคสลับดีไม่ดี
Inattention
มีความริดไม่เป็นระบบ
เปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัว
ปัจจัยกระตุ้น
ยา
โรคที่เกิดร่วม
โรคทางระบบประสาท หลอดเลือดสมอง สมองอักเสบ
สิ่งแวดล้อม
การอดนอนเป็นเวลานาน
สาเหตุ
ความผิดปกติของสารสื่อประสาท neurotransmitter
การอักเสบ และความเครียดเรื้อรัง
การดำเนินโรค
มักจะดีขึ้นภายในเวลาเป็นวันหรือสัปดาห์ มีเพียงร้อยละ18 ที่ฟื้นสมบูรณ์
การป้องกัน
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนเพียงพอ
ลดอาการเจ็บปวด
ดูแลการขับถ่าย
หยุดยาที่ไม่จำเป็น
ดูแลให้ได้รับอาหารเพียงพอ
กระตุ้นการเคลื่อนไหวตั้งแต่ระยะแรก
การปรับสภาพแวดล้อม
ดูแลสภาพแวดล้อม
การให้ยา
โรคอัลไซเมอร์ Alzheimer’s disease : AD
โรคเรื้อรังเกิดจากเซลล์สมองเสื่อมอย่างรุนแรง
สาเหตุ
จากความผิดปกติในเนื้อสมอง
กลุ่มใยประสาทพันกัน neurofibrillary Tangle อาหารไปเลี้ยงสมองไม่พอ
มีสาร beta anyloid Acetylcholine ลดลง
การอักเสบ inflammatory สารamyloid ให้อนุมูลอิสระ เกิดการอักเสบสมอง
กรรมพันธุ์
อายุ ร้อยละ 25 เป็นผู้ป่วยอายุ 85 ปี
โรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
อาการและอาการแสดง
ความผิดปกติด้านความจำ temporal lobe
การใช้ภาษา
ความผิดปกติ sylvian fissureด้านซ้าย
การรับรู้ภาพ
ความผิดปกติ parietal lobe
ระยะแรก
มีปัญหาเรื่องความจำ การเรียนรู้สิ่งใหม่และลืมเหตุการณ์ที่พึ่งเกิด
ระยะกลาง
เริ่มมีปัญหาในการทำกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน อารมณ์และพฤติกรรม
ระยะสุดท้าย
สื่อสารได้น้อยลง มีพฤติกรรมซ้ำๆ มีปัญหาการทรงตัว จำญาติไม่ได้ แจติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
การวินิจฉัย
ใช้ DSM-IV
ใช้ NINDS-ADRDA
การรักษาและการพยาบาล
ยังไม่มีการรักษาที่ช่วยชะลอหรือหยุดการดำเนินโรคอย่างแท้จริง
แนวทางช่วยป้องกันและจัดการ
กระตุ้นทางจิตใจ mental stimulation
การออกกำลังกาย และรับประทานอาหารครบทุกหมู่
รักษาไม่หาย การบำบัดและดูแลผู้ป่วยเป็นสิ่งสำคัญ
Parkinson’s Disease
ความเสื่อมสมองส่วนกลาง CNS การเคลื่อนไหว พบในชายมากกว่าหญิง หลังอายุ 50ปี
สาเหตุ
ปัจจัยตั้งต้นภาวะ toxicity
อาการ
แตกต่าง ขึ้นกับสาเหตุของการสั่น
ทำให้ dopamine ลดลงทำให้อาการเกิดขึ้น
กล้ามเนื้อแข็งตึง
การเคลื่อนไหวที่อยู้ใต้อำนาจจิตใจทำได้ช้า
เช่น พูด กลืน
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ตา drooling
หน้าเหมือนสวมหน้ากาก
สูญเสียรีเฟลกซ์การทรง postural reflexs
อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย
ท่าทางเดิน
ศีรษะก้มลง ตัวงอไปช้างหน้า
ไหล่ห่อและแขนงอ เดินลากและก้าวสั้นๆ มีผลหกล้ม
ผลต่อระบบประสาทอัตโนมัติทำให้น้ำลายออกมาก
กลืนลำบาก เหงื่อออกมา เกิด orthostatic hypotention
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ ภาวะแทรกซ้อน คือ อุบัติเหตุ
การรักษาพยาบาล
การรักษาด้วยยา Levodopa (L-Dopa)
ไม่ให้รับประทานจะถูกผลาญก่อน
ควบคุมอาการไม่ให้รุนแรงมากคง
ไว้หน้าที่ของร่างกายให้ได้มากที่สุด
การรักษาด้วยการผ่าตัด
รักษาอาการสั่นและแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อ
การพยาบาล
เทคโนโลยีใหม่ๆที่นำมาใช้ควบคุมอาการของโรค
Pulse generators ส่งelectrical impulse ไป block สัญญาณประสาทที่เป็นสาเหตุการสั่น
Rom exercise
Warm bath & massage
Exercise program
Psychological support
อาหาร
ซุปข้น ควรเป็นชนิดไขมันต่ำ
วิตามิน เอ อี สูงกากใยสูง
ป้องกันภาวะท้องผูก
กิจกรรม ช่วยเหลือและป้องกันอุบัติเหตุ
ภาวะสับสน confusion
เกิดขึ้นช้าๆเป็นอยู่นาน หรือกะทันหันอาจเกิดเป็น temporaryหรือpermanent
อาการที่เกิดแบบทันที
Cold or clammy skin,
Dizziness
Fast pulse
Fever
Headache
Slow or rapid breathing
Uncontrolled shivering
การตรวจเพื่อวินิจฉัย
Cognitive tests
MRI Of the head
Blood and urine tests
EEG
การพยาบาล
ประเมิน confused peson
จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ วางนาฬิกา ปฏิทินใกล้ๆ พูดคุย ให้ยา แนะนำลดสุรา รับประทานวิตามิน เกลือแร่ นอนหลับ
การฆ่าตัวตาย : suicide
สาเหตุ
เสี่ยงต่อบุคคลซึมเศร้า สถิติเพิ่มตามอายุ
ซึมเศร้า
เจ็บป่วยทางกาย จิต
สูญเสียคู่ชีวิต
การติดสารเคมี
อาการและอาการแสดง
ไม่รับประทานอาหาร ปฎิเสธการรับยา การรักผาา ทำในสิ่งที่เสี่ยงตาย บ่งบอกว่าอยากตาย
ประเมิน
Have you ever thought about killing yourself?
How offen have you had these thoughts?
How would you kill yourself if you decide to do it?
การรักษาและการพยาบาล
ป้องกัน ดูแลใกล้ชิดและรีบรักษาสาเหตุ จัดสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัย ให้ระบาย พยาบาลแสดงความเห็นใจ ไม่แสดงท่าทีถูกผิด มีท่าทีมั่นคง ไม่ปล่อยลำพัง