Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดและทฤษฎีการบริหาร, รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
กัญญาภัค สายประดิษฐ…
แนวคิดและทฤษฎีการบริหาร
การบริหารแบบคลาสสิค
- มุ่งเน้นประสิทธิภาพและประสิทธิผล
การบริหารตามหลักวิทยาศาสตร์
- ใช้หลักเหตุผลและวิทยาศาสตร์
- เน้นการผลิต ให้ความสำคัญต่องาน
การบริหารจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Frederick W. Taylor)
- กำหนดวิธีการทำงาน
- คัดเลือกคนงาน
- พัฒนาคนงาน
- สร้างความสัมพันธ์ที่ดี
- เงินเป็นปัจจัยจูงใจที่สำคัญ
สิ่งจูงใจด้านค่่าตอบแทน (Henry L. Gantt)
การศึกษาเวลาและการเคลื่อนไหวในการทำงาน
(Frank B. And Lillian. Gilbreth)
- ขจัดส่วนที่ไม่จำเป็นในการทำงานออก
- สัง้คราะห์องค์ประกอบที่จำเป็นเข้าด้วยกันใหม่
ประสิทธิภาพขององค์การ (Harrington Emerson)
- จัดสรรทรัพยากรและขจัดความสูญเสีย
การจัดการแบบระบบราชการ (Max Weber)
- หลักของการแบ่งงานกันทำ
- หลักของการกำหนดอำนาจหน้าที่ตามสายการบังคับบัญชา
- หลักของความสามารถ
- หลักของกฎ ระเบียบ ความมีวินัย และการควบคุม
- หลักของความเป็นกลางทางการบริการ
- หลักของการเป็นบุคลากรของฝ่ายบริหารและได้รับเงินเดือนประจำ
-
การบริหารเชิงพฤติกรรมและการจัดการ
- เน้นความสำคัญของการเข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์และการจูงใจเพื่อความสำเร็จ ใช้หลักมนุษยสัมพันธ์
การบริหารเชิงมนุษย์สัมพันธ์ (Elton Mayo)
- ความสัมพันธ์ระหว่างคนงานด้วยกันเองหรือระหว่างกลุ่มของคนงานที่จะเพิ่มผลผลิตในองค์กร
- ปัจจัยที่กำหนดปริมาณผลผลิต คือ ปัจจัยทางด้านสังคม
- พฤติกรรมการทำงานของคนงานถูกกำหนดโดยระบบการให้รางวัลและการลงโทษทางสังคม
- ผู้นำกลุ่มที่เป็นทางการและกลุ่มที่ไม่เป็นทางการ จะมีบทบาทในการบังคับใช้และสร้างปทัสถาน
- กลุ่มจะมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคล
- ควรจะมีการแสวงหาภาวะผู้นำแบบต่างๆ
- ประสิทธิผลของงานขึ้นอยู่กับขวัญกำลังใจ ความพึงพอใจ ความพร้อมทางสภาพจิตใจ ซุ่งส่งผลต่อพฤติกรรมของคนงานและเรื่องราวทางสังคม
ทฤษฎีลำดับขั้นของความต้องการหรือทฤษฎีการจูงใจ (Maslow's Theory of Motivation)
- บุคคลมักดิ้นรนตอบสนองความต้องการขั้นต่ำสุดก่อนเมื่อได้รบการตอบสนองแล้วจึงแสวงหาความต้องการขั้นสูงขึ้นไปตามลำดับ
- แบ่งความต้องการของมนุษย์เป็น 7 ลำดับขั้นตอน
ทฤษฎี X และ Y (Douglas McGregor)
- พฤติกรรมศาสตร์เน้นการวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ในองค์การที่จะเป็นประโยชน์ต่อการบริหาร
การบริหารงานเชิงปริมาณ
- ประยุกต์ใข้คณิตศาสตร์ในการตัดสินใจในสถาณการณ์ต่างๆ
วิทยาการการจัดการหรือการวิจัยการปฎิบัติการ
- บริหารตามหลักวิทยาศาสตร์ โดยใช้เทคนิคคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์และแก้ปัญหา
- ยึดหลักการเพิ่มประสิทธิภาพในการตัดสินใจจากการใช้ตัวแบบทางคณิตศาสตร์และวิธีการเชิงสถิติ
การบริหารการปฏิบัติ
- ใช้เทคนิคเชิงปริมาณเพื่อปรับปรุงผลผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าและบริการ
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
- ยึดหลักการที่เน้นการออกแบบและการนำเอาระบบข้อมูลสารสนเทศมาใช้เพื่อการบริหาร โดยอาศัยเครื่องคอมพิวเตอร์
แบบทฤษฎีระบบ
- องค์กรประกอบด้วยระบบย่อยๆ ที่ทำงานร่วมกัน โดยเป็นอิสระของตนเองและทำงานร่วมกับระบบอื่นๆในลักาณะเป็นหนึ่งเดียวกัน
- ระบบจะรับปัจจัยนำเข้า ทำหน้าที่แปรสภาพ สร้างผลผลิต และรับข้อมูลป้อนกลับจากสภาพแวดล้อมเพื่อนำไปสู่การปรับตัวขององค์
ทฤษฎีการบริหารเชิงสถาณการณ์หรือทฤษฎีอุบัติการณ์
- การเลืกทางออกที่จะไปสู้การแก้ปัญหาทางการบริหารไม่มีวิธีใดที่ดีที่สุด สถาณการณ์ต่างหากที่เป็นตัวกำหนด
- เน้นความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรกับสภาพแวดล้อม และเป็นส่วนขยายของทฤษฎีระบบว่า ทุกๆส่วนจะต้องสัมพันธ์กัน
ทฤษฎี Z ของ Willium Ouchi
- การจ้างงานตลอดชีพ
- การตัดสินใจแบบมีส่วนร่วม
- ความรับผิดชอบเฉพาะบุคคล
- การประเมินและเลื่อนตำแหน่ง
- การบริหารมีระบบการควบคุมที่ไม่มีรูปแบบ
- ลักษณะงานอาชีพ กึ่งเฉพาะด้าน
- การทำงานและมนุษย์สัมพันธ์ในองค์กร มีอิสระเป็นตัวของตัวเอง
การบริหารโดยมุ่งคุณภาพทั้งองค์กร
- จัดระบบและวินัยในการทำงาน เพื่อป้องกันความผิดพลาด
- มุ่งสร้างคุณค่าในกระบวนการทำงาน
การบริหารงานแบบผู้นำในยุคควอนตัม
- การเปลี่ยนแปลงแบบไม่มีอะไรคงที่
- มีความสัมพันธ์แบบซับซ้อน
- โครงสร้างองค์กรคือ ภาพรวมทั้งหมด ไม่ใช่การบริหารแบบแยกส่วน
- คนเป็นศูนย์กลางขององค์กร
- หน้าที่หลักของผู้บริหารระดับสูง 10 ประการ
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
- กัญญาภัค สายประดิษฐ 60106010045 sec B01
- กุศลศิณิ เศษแพง 60106010050 sec B01
- วรกมล อินธิบาล 60106010135 sec B01